รูปแบบการปกครองอาณาจักรล้านช้างสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช

Main Article Content

พระวันชัย ภูริทตฺโต
พระมหาวิเชียร ธมฺมวชิโร

บทคัดย่อ

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการปกครองอาณาจักรล้านช้างสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช โดยศึกษาจากเอกสาร การศึกษาพบว่า พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชเป็นกษัตริย์ลาวที่สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กับอาณาจักรล้านช้างเป็นอย่างมาก ตลอดรัชสมัยของพระองค์ ได้เผชิญกับสงครามตลอดเวลา แต่พระองค์ก็สามารถนาพาอาณาจักรล้านช้างผ่านพ้นวิกฤติได้ด้วยดี พร้อมกับการทานุบารุงพระพุทธศาสนาควบคู่ไปด้วย พระองค์จึงได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์ที่เล่นการเมืองว่าด้วยประเด็นทางศาสนาได้อย่างชาญฉลาด เวลามีสงครามทรงทาหน้าที่เป็นจอมทัพ เวลาสงบ ทรงแสดงองค์เป็นศาสนูปถัมภ์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงปกครองอาณาจักรล้านช้างตามแบบอย่างของบุรพกษัตริย์ในอดีต โดยมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตย มีอาญา 4 เป็นแบบแผนในการปกครอง ได้แก่ 1) ตาแหน่งในเมืองหลวง ประกอบด้วยกษัตริย์ อุปราช ราชวงศ์ ราชบุตร ทั้งสี่ตาแหน่งนี้เป็นตาแหน่งผู้ครองนครและผู้สืบสันตติวงศ์ มีคานาหน้าว่า “เจ้า” ส่วนตาแหน่งอื่น ๆ นอกเหนือจาก 4 ตาแหน่งข้างต้น เป็นขุนนางชั้นเสนาบดี มีคานาหน้าว่า “พญา” 2) ตาแหน่งในหัวเมืองต่าง ๆ เป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของเมือง เป็นตาแหน่งปกครองระดับหัวเมือง มีคานาหน้าว่า “เพีย” 3) ตาแหน่งในชุมชนเล็ก เป็นตาแหน่งปกครองระดับหัวหน้าหมู่บ้าน เครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมสังคมล้านช้าง ประกอบด้วยศาสนา โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและคติความเชื่ออื่น ๆ เป็นกุศโลบายในการปกครอง กฎหมาย โดยกฎหมายของ
Received: 8 January 2020 ; Revised: March 2020; Accepted: 25 April 2021
14 Sueksitalai Journal Vol.1 No.1 (January – April 2020)
สังคมล้านช้างจะอิงกับพระพุทธศาสนา และตานานและวรรณกรรม เป็นการสอดแทรกหลักศีลธรรม ระเบียบสังคม และบทบาทของกษัตริย์ผ่านตานานและวรรณกรรม เพราะเนื้อหาของวรรณกรรมสามารถเข้าถึงประชาชนได้ง่ายกว่ากฎหมาย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กัมพล จาปาพันธ์. (2552). ภาพลักษณ์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชในประวัติศาสตร์ไทย-ลาว. ศิลปวัฒนธรรม, 30(12), 74-97.

จารุบุตร เรืองสุวรรณ. (2520). ของดีอีสาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

จารุบุตร เรืองสุวรรณ. (2521). ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบอบการปกครองของชาวอีสานสมัยเก่า. วารสารวัฒนธรรมไทย, 7, 3-4.

เจริญ ตันมหาพราน. (2553). มหาราช 2 แผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วน รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์.

ชนิด ศุทธยาลัย. (2555). อาณาจักรล้านช้าง. เรียกใช้เมื่อ 3 ตุลาคม 2561 จาก https://shorturl.asia/DBngH.

ทองสืบ สุภะมาร์ค. (2528). พงศาวดารลาว. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา.

บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. (2547). ราชอาณาจักรลาว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ศยาม.

Sueksitalai Journal Vol.1 No.1 (January – April 2020)

ปิยฉัตร์ สินธุสะอาด. (2540). สังคมล้านช้างตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 23. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ. (2549). งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย. กรุงเทพมหานคร : สร้างสรรค์บุ๊คส์.

มหาสีลา วีระวงส์. (2535). ประวัติศาสตร์ลาว. แปลโดยสมหมาย เปรมจิตต์. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มาร์ติน สจ๊วต-ฟอกซ์. (2553). ประวัติศาสตร์ลาว. แปลโดยจิราภรณ์ วิญญรัตน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

วิกิพีเดีย. (2561). สมเด็จพระเจ้าอภัยพุทธบวร ไชยเชษฐาธิราช. เรียกใช้เมื่อ 11 ตุลาคม 2561 จาก https://shorturl.asia/Rjr8p.

ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอาเซียน. (2558). ประวัติศาสตร์ สปป.ลาว. เรียกใช้เมื่อ 11 ตุลาคม 2561 จาก http://www.aseanthai.net/mobile_detail.php?cid=50&nid=4456.

สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์. (2535). จากหลวงพระบางถึงเวียงจันทน์. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์เมืองโบราณ.

หนาน อ้น. (2561). ทาเนียบศักดินาลาว - อาญา 4. เรียกใช้เมื่อ 14 มกราคม 2562 จาก https://shorturl.asia/d4bTQ.

อุทัย เทพสิทธา. (2509). ความเป็นมาของไทย-ลาว. พระนคร : สานักพิมพ์สาส์นสวรรค์.