นวัตกรรมกับการบริหารสถานศึกษาตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในยุค Next Normal INNOVATION OF SCHOOL ADMINISTRATION BASED ON SAPPURISADHAMMA 7 IN THE NEXT NORMAL

Main Article Content

คุณัชญา ทิพยานุรักษ์สกุล
พิชญาภา ยวงสร้อย

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


บทความเรื่อง “นวัตกรรมกับการบริหารสถานศึกษาตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในยุค Next Normal” เป็นบทความวิชาการที่ศึกษาการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารสถานศึกษาในยุคความปกติถัดไป Next Normal โดยบูรณาการกับหลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 สำหรับผู้บริหาร เป็นแนวทางในการบริหารสถานศึกษา ประกอบไปด้วย หลักธัมมัญญุตา รู้จักเหตุ หลักอัตถัญญุตา รู้จักผล หลักอัตตัญญุตา รู้จักตน หลักมัตตัญญุตา รู้จักประมาณ หลักกาลัญญุตา รู้จักกาลเวลา หลักปริสัญญุตา รู้จักชุมชน และ หลักปุคคลัญญุตา รู้จักบุคคล เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารสถานศึกษา และการนำนวัตกรรมแบบต่าง ๆ ที่ผู้บริหารสามารถประยุกต์ใช้สำหรับบุคคล หรือในการบริหารสถานศึกษา ทำให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีความพร้อมต่อการบริหาร ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการบริหารงานทั่วไป ให้มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในยุค Next Normal

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เอกสารอ้างอิง

กันตวรรณ มีสมสาร. นวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการทางการศึกษา ปฐมวัยและการจัดสภาพแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2564. จากhttps://www.stou.ac.th/offices/rdec/yala/main/pdf

กาญจนา บุญภักดิ์. (2563). บทความปริทัศน์ เรื่อง การจัดการเรียนรู้ยุค New Normal. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม.

ชูกิจ ลิมปิจำนงค์. (2563). Recovery Forum “School Reopening and Teacher Empowerment to cope with the Next Normal in Education”. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2564. จากhttps://m.mgronline.com/qol/detail/9630000063614

ณรงค์พันธุ์ เชียวขุนทด. (2559). การศึกษาพฤติกรรมการบริหารสถานศึกษาตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ตามความคิดเห็น ของครูในอำเภอไพศาลี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ทินกร บัวชู. (2562). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารครุศาสตร์สาร. หน้า 285-294.

ประพันธ์ คชแก้ว. (2564). นวัตกรรมการบริหารองค์การในยุคดิจิทัล. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน.

พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2563). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด – 19. วารสารศิลปการจัดการ ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มลวิภา สิขเรศ. (2559). การบริหารสถานศึกษาเชิงพุทธบูรณาการของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน.

วันเพ็ญ พุทธานนท์. (2563). New Normal การศึกษาไทยกับ 4 รูปแบบใหม่การเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน2564. จาก https://www.thebangkokinsight.com/367124

ศิริเดช คำสุพรหม. (2563). รีวิวหลักสูตรยุคโควิด-19. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2564. จาก https://www.salika.co/2020/05/05/review-mba-program-post-covid-era/.

เศรษฐชัย ชัยสนิท. (2553). นวัตกรรมและเทคโนโลยี. เข้าถึงได้จาก http://it.east. spu.ac.th/ informatics/admin/knowledge/A307Innovation%/20and %20Technology.pdf.

สมบัติ นามบุรี. (2562). นวัตกรรมและการบริหารจัดการ. วารสารวิจยวิชาการ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). การศึกษายุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2564. จาก https://www.posttoday.com/social/general/628541.

Arita Marini. (2016). MODEL OF ELEMENTARY SCHOOL MANAGEMENT IN AUTONOMY ERA IN JAKARTA. Ponte International Journal of Sciences and Research. Vol. 72 No. 12 December.

Herkema, S. 2003, “A Complex Adaptive Perspective on L e a r n i n g w i t h i n Innovation Projects”. The Learning Organization. Vol. 10, no. 6, pp. 340- 346.

Hughes, Chuck. (2003). What does it really takes to get into the Ivy League & other highly selective colleges. New York: McGraw- Hill.

Kline, S. J., & Rosenberg, N. (2010). An overview of innovation. NY : Routledge.