การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครูด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแบบผสมผสาน

Main Article Content

คุณัชญา ทิพยานุรักษ์สกุล

บทคัดย่อ

การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครูด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแบบผสมผสาน เป็นบทความวิชาการที่ศึกษาสมรรถนะครูด้านเทคโนโลยีดิจิทัล รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) และ การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรครูด้านความสามารถในการใช้ความรู้ ทักษะเจตคติ และคุณลักษณะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในการทำงาน โดยแสดงออกถึงพฤติกรรมที่สามารถวัดและประเมินผลได้ ซึ่งรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานถือเป็นรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านดิจิทัลที่เหมาะสม เนื่องจากรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน เป็นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่กระตุ้นผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองในวิธีการต่าง ๆโดยบูรณาการการใช้เทคโนโลยีร่วมด้วย ทำให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น  ซึ่งเป็นการส่งเสริมพัฒนาการในการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีของครูแต่ละคนให้เต็มศักยภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จินตวีร์ คล้ายสังข์ (2553). ผลของการเรียนแบบผสมผสานที่ใช้คอร์สแวร์ในรูปแบบที่ต่างกันที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และความพึงพอใจของผู้เรียนระดับปริญญาบัณฑิตที่มีระดับความสามารถทางการเรียนรู้ต่างกันในรายวิชาโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บชั้นนำ. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทศพร ดิษฐ์ศิร. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 197 – 209.
รสสุคนธ์มกรมณี. (2556). ครูไทยกับ ICT. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556 เรื่องการวิจัยเพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
วิวรรธน์ จันทร์เทพย์. (2554). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้เป็นทีมเพื่อพัฒนาสมรรถนะ การออกแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบสหวิทยาการสำหรับครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย ปีที่3 ฉบับที่1, 2 หน้า 135 – 149.
ศิษฏ์ชนา ดวงบาล. (2562). แนวทางการพัฒนาครูด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ เรียนการสอนโรงเรียนวัดแม่แก้ดน้อย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1. หน้า 242 – 253.
ศราวุธ แจ้งสุข. (2560). แนวทางการพัฒนาทักษะการใช้ไอซีทีของครูกลุ่มโรงเรียนดี ประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 74 – 86.
สุภัทรศักดิ์ คําสามารถ (2562). การเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 55-68.
เมธี คชาไพร. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างความรู้และสมรรถนะ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สำหรับนิสิตหลักสูตรการศึกษา บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับพิเศษ (ครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์) กรกฎาคม, น. 71-86.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2554). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร (พิมพ์ครังที4).กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปณิตา วรรณพิรุณ. (2554).การเรียนรู้แบบผสมผสานจากแนวคิดสู่การปฏิบัติ.วารสารการอาชีวะ และเทคนิคศึกษา, 1(2), 43-49.
ภัณฑิลา ธนบูรณ์นิพัทธ์. (2020). สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของครูไทยในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2564 จาก https://researchcafe.org/communications-technology-competencies-for-thai-teachers-in-the-21st-century/
อลิศรา เปี่ยมถาวร.( 2560). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการท างานของบุคลากรในสายวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ปฏิบัติงานในภาคเอกชน กรณีศึกษา บริษัทเทคโนโลยีสารสนเทศ. สาขาวิชานโยบายและการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุไม บิลไบ. (2560). สมรรถนะ ทักษะและบทบาทของครูไทยในศตวรรษที่ 21. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ. วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล. (2561). ผลการพัฒนาสมรรถนะด้านทักษะไอซีทีของครูในศตวรรษที่ 21 ในเขตภาคกลางด้วยรูปแบบการใช้อีเลิร์นนิงคอร์สแวร์แบบผสมผสานโดยใช้โครงการเป็นฐาน. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครู สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2564 จากhttp://www.tmk.ac.th/teacher/capasity.pdf
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). รวมกฎหมายสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สกสค.
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). แผนพัฒนาความรู้ความเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย.
Allen, I. E., & Seaman, J. (2010). Blended Learning. Retrieved May 8, from https://goo.gl/DRmsJ1
Singh, H. and Reed, C. (2001) Achieving Success with Blended Learning. Centra Software. ASTD State of the Industry Report. American Society for Training and Development.
Voos, Richard. (2003) Blended Learning : What it is and Where it Might Take Us?. Accessed May 20. Avaliable from http://www.aln.org/publications/view/v2n1/blended.html.