การประเมินโครงการ Science Technology and Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ของโรงเรียนห้วยสักวิทยาคม THE PROJECT EVALUATION OF SCIENCE TECHNOLOGY AND INNOVATION (STI) : SMART INTENSIVE FARMING OF HUAISAKWITTHAYAKOM SCHOOL
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ประเมินบริบทของโครงการ Science Technology and Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ของโรงเรียนห้วยสักวิทยาคม 2. ประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ Science Technology and Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ของโรงเรียนห้วยสักวิทยาคม 3. ประเมินกระบวนการของโครงการ Science Technology and Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ของโรงเรียนห้วยสักวิทยาคม 4. ประเมินผลผลิตของโครงการ Science Technology and Innovation (STI) : Smart Intensive Farming ของโรงเรียนห้วยสักวิทยาคม ประชากรที่ใช้ในการประเมิน ปีการศึกษา 2563 รวมจำนวน 1,067 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ประกอบด้วยแบบประเมิน แบบบันทึกและแบบสอบถามความพึงพอใจ เครื่องมือทุกฉบับมีค่าความตรงเชิงเนื้อหา : IOC 0.80 – 1.00 การวิเคราะห์ข้อมูลผล โดยคำนวณหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมินโครงการ ทั้ง 4 ด้าน คือ บริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการ (ทักษะอาชีพ ความพึงพอใจของครู ความพึงพอใจของนักเรียน ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียน ความยั่งยืน และการถ่ายโยงความรู้) อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน และการประเมินสมรรถนะของนักเรียน ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562
Article Details
References
เอกสารอ้างอิง
ภานุมาศ หมอสินธ์ ; พรทิพย์ ครามจันทึก, อิทธิฤทธิ์ ลีลาดุษฎีเลิศ, เกษม ศุภสิทธิ์,
อินทิรา มุงเมือง. (2564). พระราชบัญญัติการศึกษา: ความสําคัญต่อการจัดการเรียนในศตวรรษที่ 21.วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิก, 7(3), 74-86.
สํานักบริหารงานความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา (สบว.). (2563). การจัดทำโครงการ
Science Technology Innovation (STI) : Smart Intensive Farming. สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
รัตนะ บัวสนธ์. (2556). วิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษา = Qualitive research in education. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Stufflebeam and Shinkfield. (2007). Evaluation Theory, Models and
Applications. John Wiley and Son, Ine.
อุทัย อันพิมพ์. (2554). การจัดการความรู้เพื่อการทำเกษตรประณีตตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาบูรณาการศาสตร์). อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ยุพิน รอดประพันธ์. (2561). การประเมินโครงการโรงเรียนคุณธรรมโดยประยุกต์ใช้ รูปแบบ การประเมินซิป (CIPP Model) โรงเรียนวัดห้วยธารทหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3. นครสวรรค์: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3.
พัชรินทร์ บัวเย็น และชัยวิทย์ ถิระวณัฐพงศ์. (2562). การศึกษาแนวทางของเทคโนโลยีฟาร์มอัจฉริยะเพื่อรองรับการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สู่ประเทศไทย 4.0 กรณีศึกษาสวนผลไม้วังสวนบ้านแก้ว. (รายงานการวิจัย). จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
ปวนันพัสตร์ ศรีทรงเมืองและคณะ. (2563). การพัฒนารูปแบบระบบควบคุมฟาร์ม อัจฉริยะในโรงเรือนปลูกพืช โดยใช้คอมพิวเตอร์แบบฝัง. อยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
เรวัตร แก้วทองมูล. (2564). การประเมินโครงการสถานศึกษาปลอดภัยของวิทยาลัยเทคนิค
เวียงป่าเป้า. วารสารวิชาการ T-VET Journal สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3. ปีที่ 5
ฉบับที่ 10 หน้าที่ 138-153.
พิสณุ ฟองศรี. (2553). วิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.
อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์. (2556). ประเมินผลการดำเนินงานโครงการการติดตามและ
ประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2554-2556). เชียงใหม่: สำนักบริการวิชาการ.
อนันต์ นามทองต้น. (2557). การประเมินโครงการทางการศึกษา : ปฏิบัติจริง. นนทบุรี: สหมิตร
ธิดารัตน์ สนธิ์ทิม. (2564). การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีต่อสื่อการ
เรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านแอปพลิเคชั่น. วารสารวิชาการ T-VET Journal สถาบันการ
อาชีวศึกษาภาคเหนือ 3. ปีที่ 5 ฉบับที่ 10 หน้าที่ 285-302.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2553). การประเมินหลักสูตรที่เน้นการตัดสินใจโดยใช้วิธีเชิงระบบโดยใช้รูปแบบ CIPP Model. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.