การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนอาชีวศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการและการมี รายได้ระหว่างเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการดำเนินงานเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการและการมีรายได้ระหว่างเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2) พัฒนาแนวทางการพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาสู่การ เป็นผู้ประกอบการและการมีรายได้ระหว่างเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3) รายงานผลการใช้แนวทางการพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการและการมีรายได้ระหว่างเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ 4) ประเมินผลการใช้ทางการพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการและการมีรายได้ระหว่างเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Method) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการสถานศึกษาจำนวน 19 คน รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมือ จำนวน 19 คน รวมจำนวน 58 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการดำเนินงานเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการและมีรายได้ระหว่างเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด
Article Details
References
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานวิจัยการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship Education). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). (2563). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (08) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2566, จาก http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2022/02/14_NS-08_140265.pdf.
นิติ นาชิต. (2565). กลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งการจัดการเรียนรู้อาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล. วารสารการอาชีวศึกษาภาคกลาง. 6(1), 10-23.
สมพร ปานดำ. (2563). แนวทางการพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่. กรุงเทพฯ: เอกสารวิจัยส่วนบุคคลวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62.
Hatten,T. S. (2006). Small Business Management: Entrepreneurship and Beyond (3 ed.). Boston: Houghton Mifflin.
วรรณิศา แก้วดี และคณะ. (2560). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ทำงานระหว่างเรียน. Kasetsart Journal of Social Sciences (KJSS). 38(2017), 717-727 .
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). แนวทางการเสริมทักษะและสร้างเสริมประสบการณ์อาชีพให้กับนักเรียน. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ
Pisit Methaphat. (2007).Vocational and Technical Curriculum Development Supplementary sheet on subject code 200401. Department of Teacher Training in Mechanical Engineering, King Mongkut's University of Technology North Bangkok.
นิติ นาชิต. (2565). การบริหารอาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการสู่มาตรฐานคุณภาพ. วารสาร e-Journal of Education Studies, Burapha University. 4(1), 1-16.
Deniz Eseryel. 2002. Approaches to Evaluation Training: Theory & Practice. Syracuse University,USA.
สมเกียรติ อินทวงศ์ และคณะ. (2557). การพัฒนารูปแบบการบริหารศูนย์บ่มเพาะเพื่อสร้างผู้ประกอบการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. Journal of Education and Innovation คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 16(3), 65-75.
Hoy, Wane K.and Miskel Cecil G. (2001). Educational Administration: Theory, Research, and Practice 6th ed). New York: McGraw Hill.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2566). สอศ.ปลื้มสุดยอดศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาระดับชาติ 5 ดาว. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2566, จาก https://www.vec.go.th
สุธีรา อะทะวงษา และสมบูรณ์ สัตยารักษ์วิทย์. (2557). คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการ และลักษณะของสถานประกอบการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Eisner, E. (1976). Education connoisseurship and criticism: Their form and functions in education evaluation. Journal of Aesthetic Education. 10 (3/4): 192-193.
ประทิน เลี่ยนจำรูญ. (2566). การพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการฐานนวัตกรรมของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคพังงา โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ: STEAM for Innopreneur. T-VET Journal วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3. 7(14), 407-418.
สมใจ รอดคง. (2564). การพัฒนาการบริหารงานวิชาการที่ยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ : กรณีศึกษาสาขาไฟฟ้าพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ วิทยาลัยสารพัดช่างสุโขทัย. T-VET Journal วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3. 5(10), 330-343.
เพิ่มพูน ชิดชอบ. (2566). รมว.ศธ.แถลงนโยบายการศึกษา “เรียนดี มีความสุข”. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2566, จาก https://moe360.blog/ 2023/09/14/ minister-ed-statement-ed-policy/