การศึกษาและออกแบบชุดเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่อง เฮือนอีสาน The Study and Design on Skill-Extension Learning set for Venaeular Esan architecture : Esan House

Main Article Content

มนชญา สระบัว
พิชัย สดภิบาล
จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสานเรื่องเฮือนอีสาน 2) ออกแบบ
ชุดเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่องเฮือนอีสานให้มีคุณภาพตามเกณฑ์การประเมินสื่อการเรียนการ
สอนและนวัตกรรมอาชีวศึกษา 3) เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนหลังการเรียนด้วยชุดเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้น
ถิ่นอีสานเรื่องเฮือนอีสาน โดยกำหนดตัวแปรต้นคือ ชุดเสริมทักษะการเพื่อเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่องเฮือนอีสาน
ตัวแปรตามคือ คุณภาพของชุดเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตย กรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่องเรือนอีสานและผลสัมฤทธิ์และความ
พึงพอใจของผู้เรียนหลังเรียนด้วยชุดเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่องเฮือนอีสาน โดยมีรูปแบบการ
วิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง ( Non-Randomized Control–Group Pretest Posttest Design) จากการดำเนินวิจัย ด้านสถาปัตย
กรรมพื้นถิ่นอีสานของ เฮือนอีสาน พบว่าปัจจุบันผู้คนที่ยังมีการดำรงชีวิตวัฒนธรรมการอยู่อาศัยในเฮือนอีสานแบบในสมัยก่อน
เหลือน้อยมาก และพบได้ เพียงตามชนบท เราสามารถศึกษาได้ตามพิพิธภัณฑ์หรือศูนย์ศึกษาต่างๆในภาคอีสาน จากการ
ออกแบบชุดเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่องเฮือนอีสานพบว่าที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ ซึ่งมี X =
4.64 และ S.D. = 0.43 ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบใช้ชุด
เสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่องเฮือนอีสาน สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติการจัดการ
เรียนการสอนโดยใช้ชุดเสริมทักษะเพื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน เรื่องเฮือนอีสานจึงเหมาะที่จะนำไปใช้กับหน่วยการ
เรียนรู้อื่นหรือในรายวิชาอื่นด้วย

This research aims as following; 1) to study the vernacular of Esan folk style in Esan house 2)
to design on skill-extension learning set for vernacular Esan Architecture Esan house according to
evaluation criteria of vocational education learning and study media as well as innovation 3) to evaluate
an achievement of the students after using the skills-extension learning set for the vernacular Esan
ArchitectureEsan house. In this research design on skill-extension learning set for vernacular Esan
Architecture Esan house was set as independent variable while quality of a skills and satisfaction of
the students after using the skill-extension learning set for vernacular Esan Architecture Esan house 

was set as dependent variable. Non-Randomized Control –Group Pretest Posttest Design was used as
pattern for the research.
Nowadays, it was found that a few people still lived in Esan folk houses in rural area. We
can study from museum ol education at centers around Esan. From the study, this design on skill-extension
learning set for vernacular Esan architecture Esan house, has been designed with the mean X of 4.63
and standard deviation S.D. at 0.59 with very good quality, the study result of the students who used
the skills-extension learning set for vernacular Esan architecture Esan house was higher than the students
that study in standard learning method. They also had more skills in producing effective products.
Effective teaching and learning by using this system therefore could be applied to other units or in other
courses.

Article Details

Section
บทความวิจัย