การออกแบบภาพวาดฝาผนังแบบดิจิทัล 3 มิติ กรณีศึกษาวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ The Design of Digital Mural Painting: A Case Study of the Ramayana Painting
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) ศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ 2) เพื่อศึกษา
ความพึงพอใจภาพวาดฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) ภาพ
ฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ 2) แบบประเมินภาพวาดฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ สำหรับผู้เชี่ยวชาญ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ
ของกลุ่มตัวอย่างหลังชมภาพวาดฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ คือ นิสิตระดับปริญญาตรีหลักสูตรคอมพิวเตอร์แอนิเมชันและเกม
จำนวน 117 คน
ผลการวิจัย มีดังนี้
1) ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ มีลักษณะดังต่อไปนี้
1.1 พระราม คือกำเนิดเป็นพระราชโอรสของท้าวทศรถกับนางเกาสุริยา
1.2 หนุมาน คือเป็นลิงเผือก มีเขี้ยวแก้วอยู่กลางเพดานปาก ใช้ตรีเพชรเป็นอาวุธ
1.3 ทศกัณฐ์ เป็นอสูรบุตรของท้าวลัสเตียนกับนางรัชฎา กลับชาติมาเกิด
2) องค์ประกอบภาพฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ โดยคำนึงถึงสิ่งสำคัญดังต่อไปนี้
2.1 สัดส่วนที่เป็นมาตรฐาน
22. ดุลยภาพแบบสมมาตรและความสมดุลแบบซ้ายขวาเหมือนกัน
2.3 จังหวะลีลา
2.4 การเน้น
2.5 เอกภาพ
3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจหลังชมภาพฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก
ผลการวิจัยพบว่า นิสิตมีความพึงพอใจต่อการออกแบบและจัดองค์ประกอบภาพฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ เนื่องจาก
ความเห็นของผู้ชมนั้นทำให้ทราบถึงความต้องการต่างๆ เส้น สี แสง-เงา รูปร่าง รูปทรง โดยผู้ชมให้ความสนใจและเห็นว่าการ
ออกแบบภาพฝาผนังแบบดิจิทัลเพ้นท์ 3 มิติ จะเป็นแหล่งเรียนรู้ค้นคว้าด้านภาพวาดจิตกรรมไทยฝาผนัง เรื่องรามเกียรติ์
This research thoughtfully 1) investigates and analyzes the characters of the Ramayana; 2) examines
the participant’s satisfaction toward the painting. Three types of research tools were applied including: 1)
the digital mural painting; 2) the evaluation form on the digital mural painting; and 3) the evaluation form
on the participant’s satisfaction after seeing the painting. The participant was a group of 117 undergraduate
students in a bachelor program in Computer Animation and Game.
The findings were found as follows.
1) The characters of the Ramayana:
1.1 Phra Ram – Born as a son of King Tosaros and Nang Bhao Suriya
1.2 Hanuman – The white monkey with crystal fang growing on his palate
1.3 Tossakan – The monster, reincarnated as a son of King Lastian and Nang Ratchada
2) Composition of the digital mural painting based on the following factors:
2.1 Standard ratio
2.2 Balance and symmetry between left and right.
2.3 Movement and style
2.4 Unity
3) The participant’s satisfaction score was high after they saw the painting.
In sum, the participant were satisfied with the design and composition of the digital mural painting
since it was based on the audience’s needs regarding line, color, light and shadow, and shape. Therefore, the
participant all agreed that the painting is a fruitful resource for the study on Thai mural painting of the
Ramayana.