การสังเคราะห์ผลงานวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่างปี 2553-2557 Synthesize the Articles Published in the Art and Architecture Journal Naresuan University During in 2553-2557

Main Article Content

กชพรรณ ยังมี
จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง
วราภรณ์ มามี
วิมล ทองดอนกลิ้ง
อุษา อินทร์ประสิทธิ์

Abstract

วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์บทความวิจัยและบทความวิชาการ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการศิลปะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2557 โดยมีประเด็นการสังเคราะห์ 5 ด้าน คือ 1) ด้าน
ข้อมูลพื้นฐาน 2) ด้านวิธีดำเนินการวิจัย 3) ด้านการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากบทความ 4) ด้านแนวทางการทำวิจัยและ
การเขียนบทความ และ 5) ด้านการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ โดยเลือกใช้ประชากรทั้งหมด 87 เรื่อง ประกอบด้วย
บทความวิจัย 75 เรื่อง บทความวิชาการ 12 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อมูลคุณลักษณะบทความวิจัย
และบทความวิชาการ แบบมีโครงสร้างที่ผู้วิจัยออกแบบให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านข้อมูลพื้นฐาน บทความที่ส่งมาตีพิมพ์ในวารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2557 จำนวน 87 พบว่า 1) บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ มีจำนวน 75 เรื่อง 2) จำนวน
นักวิจัยต่อเรื่องส่วนใหญ่เขียน 3 คน 3) ประเภทกลุ่มนักวิจัยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มบัณฑิตศึกษา 4) ผู้เขียนบทความวิชาการ
ทั้งหมดเป็นกลุ่มอาจารย์นักวิชาการจากสถาบันการศึกษาต่างๆ 2) ด้านวิธีดำเนินการวิจัย พบว่ามี 1) การเลือกประชากร
หรือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยส่วนใหญ่เลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง 65 เรื่อง 2) เทคนิคการกำหนดกลุ่มตัวอย่างในบทความวิจัยจัด
ส่วนใหญ่ใช้การสุ่มอย่างง่าย 30 เรื่อง 3) ประเภทงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยและพัฒนา 32 เรื่อง 4) กรอบแนวคิดในการ
วิจัย ส่วนใหญ่ใช้กรอบแนวคิดในการวิจัย 56 เรื่อง 5) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทความ รวม 87 เรื่อง มีการอ้างอิงงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง จำนวน 177 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นการอ้างอิงงานวิจัยภายในประเทศ 134 เรื่อง 6) จำนวนรายการอ้างอิงท้ายบทความ
รวมทั้งหมด 877 รายการ ส่วนใหญ่อ้างอิงจากเอกสาร ตำราสื่อสิ่งพิมพ์ในประเทศ 640 รายการ 7) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในบทความวิจัยจำนวน 75 ส่วนใหญ่เป็นแบบสอบถาม 42 รายการ 8) วิธีที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือในบทความวิจัย
ที่มีการหาคุณภาพเครื่องมือ 28 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นการหาค่าอาจจำแนก 9) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในบทความ
งานวิจัย 75 เรื่อง ส่วนใหญ่หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย 61 รายการ 10) พื้นที่เก็บข้อมูลที่นำเสนอในบทความวิจัย 75 เรื่อง
ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชุมชน 40 เรื่อง 11) การทดสอบสมมติฐานในการวิจัย 75 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยที่ไม่มีการทดสอบ
สมมติฐาน 47 เรื่อง และ 12) ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยส่วนใหญ่เป็นไปตามสมมติฐาน 21 เรื่อง 3) ด้านการ
สังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากบทความ พบว่ามี 1) องค์ความรู้จากบทความวิจัย จำนวน 75 เรื่อง มี 13 ด้าน ส่วนใหญ่เป็น
บทความเกี่ยวกับด้านผลิตภัณฑ์ 20 เรื่อง รองลงมา ด้านสถาปัตยกรรมและการฝังเมือง 16 เรื่อง ด้านบรรจุภัณฑ์ 6 เรื่อง ด้าน
หัตถกรรมท้องถิ่น ด้านสื่อนวัตกรรม และ ด้านการเรียนการสอน ด้านละ 5 เรื่อง ด้านกราฟิกและสื่อสิ่งพิมพ์ 4 เรื่อง ด้าน
เฟอร์นิเจอร์ ด้านเครื่องประดับ และด้านเครื่องปั้นดินเผา ด้านละ 3 เรื่อง ด้านการออกแบบลวดลายและด้านการแปรรูปวัสดุ
เหลือใช้ 2 เรื่อง และด้านภาพถ่าย 1 เรื่อง 2) องค์ความรู้จากบทความวิชาการ จำนวน 11 เรื่อง มี 8 ด้าน ส่วนใหญ่เป็นด้าน
ศิลปหัตถกรรม ด้านสถาปัตยกรรม และด้านการออกแบบ ด้านละ 2 เรื่อง ด้านเฟอร์นิเจอร์ ด้านเครื่องแต่งกาย ด้านสื่อ 

นวัตกรรม ด้านการสร้างสรรค์งานศิลปะ และสิทธิบัตรกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์ ด้านละ 1 เรื่อง 3) องค์ความรู้จากบทความ
ปริทัศน์ จำนวน 1 เรื่อง เกี่ยวกับด้านการ์ตูนแอนิเมชัน 4) ด้านแนวทางการทำวิจัยและการเขียนบทความ พบว่า 1) ส่วน
ใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับด้านศิลปะและการออกแบบ 64 เรื่อง 2) ด้านสถาปัตยกรรมและการผังเมือง 16 เรื่อง 3) ด้านอื่นๆ 5
เรื่อง และ 5) ด้านการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ พบว่ามี 1) สามารถนำองความรู้จากงานวิจัยในไปใช้ประโยชน์ในชุมชน
และหรือสังคม ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ กราฟิกสื่อสิ่งพิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ ของชุมชนให้มีความสอดคล้องกับกลุ่ม
ผู้บริโภคแสดงถึงเอกลักษณ์ของความเป็นศิลปหัตถกรรมพื้นถิ่น 2) สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ใน
วงการศิลปะและการออกแบบ ด้านการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การ
ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบเครื่องประดับ การออกแบบเครื่องแต่งกาย การจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นต้น
3) สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในวงการสถาปัตยกรรมและการผังเมือง ด้านการบริหารจัดการเชิง
พื้นที่ในงานสถาปัตยกรรมและการผังเมืองทั้งที่อยู่ในชุมชนและชุมชนเมืองให้มีความเหมาะสมกับสภาพการที่เปลี่ยนแปลงไป
มีการอนุรักษ์และประยุกต์รูปแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่นให้ร่วมสมัยได้

The Research Synthesize the Literature. And articles Published in the Art and Architecture Journal
Naresuan University (AJNU) during in 2553-2557, with the issue of synthetic five areas: 1) basic Information,
2) Methodology 3) The synthesis of Knowledge from Article 4) Approach to research. And writing articles
and 5) bringing research good to results. The Selection of 87 films, Including 75 Research Articles, 12
Articles used the Research literature as a Recording Feature. And Articles The Researchers Designed a
Structured, Objective Research. The Statistics used Analyze the data Frequency, Percentage, the
Researchers found.
1) Basic Information Submit an Article published in the AJNU in 2553-2557 amounted to 87
found that 1) There are a number of Research Articles published 75 2) The number of Researchers on the
Subject, most people write three 3) Research group, the majority of Graduates. 4) Writing articles is a
group of Professors, scholars from various Institutions, 2) The Research found that 1) the selection of
Population Samples used in most Research using samples 65 2).Technique to Determine the Sample in
most Research articles prepared using simple random Sampling of 30 3) Types of Research, mainly
Research and Development 32 4) Framework for Research. Most of the framework of the research 56: 5)
Research Article 87 of the Referenced Research involved 177 subjects, mainly citing research within 134 6)
Number of References the end of article as a whole. 877 Most items according to the document.
Textbook publishers in 640 of 7) Used in Research 75 papers mostly Questionnaire 42 8) the method used
in determining the quality of the Research article is a Qualitative 28th stories. This finding may be
classified 9) The Statistics used Analyze the data in the Research article 75 of the frequency, percentage
61 10) Repository Offered in Article 75 of the Community 40. Proposition 11) to test the Hypothesis this
study 75 Subjects, most The Research that is Being tested Hypotheses 47 and 12), Hypothesis testing,
most Research is based on the Assumption of 21 3) the Synthesis of the Knowledge gained. The article
found that 1) The Knowledge of Article 75 of the top 13 of the articles on 20 Products inferior to the
Architecture and the city buried 16 about the packaging of the six local craft. The Innovative media and
the Teaching of the fifth story, graphics and publications about four furniture. The jewelry Pottery and
three on each side of the Pattern Design as well as Processing of waste Materials and the second one
Photo 2) Knowledge of article 8 of the 11 films are mainly Arts and crafts. Architecture And 2 percent at
Furniture design. Clothing Media Innovation Creative arts And patent and Design Products at 1, 3)
knowledge of the review article 1 Cartoon animation 4) Approach to Research and write articles that 1) 

the Arts and Design 64 2) Architecture and Planning, 16 3) Other 5 and 5) Bringing Research results to the
Benefit found to have one) Can take the Knowledge from Research to Good use in the community. and
Society Product Development, Packaging Graphics on the packaging. The community is consistent with
Consumer groups representing the uniqueness of the local Arts and Crafts 2) can bring the Knowledge
gained from the Research will be Utilized in the art and Design. The Teaching in Educational Institutions
on Design and Product Development. Packaging Design Jewelry Design The Costume Designer The
Patented design of products, etc. 3) Can bring the Knowledge gained from the Research will be Exploited
in the field of Architecture and urban Planning. Spatial Management in Architecture and urban Planning,
both in Communities and urban Communities to be Appropriate to the Changing Conditions. Conservation
and Application of the local Architectural style to Contemporary.

Article Details

Section
บทความวิจัย