“อาหรับสปริง” รูปแบบใหม่ของการก่อความไม่สงบที่นำไปสู่การปฏิวัติประชาชน

Main Article Content

ธีรนันท์ นันทขว้าง

Abstract

อาหรับสปริงเป็นปรากฏการณ์เกิดขึ้นใหม่ในภูมิภาคตะวันออกกลาง มีลักษณะคือ ประชาชนรวมตัวเป็นมวลชน และมวลชนเหล่านี้ออกมาเพื่อเรียกร้องให้ผู้บริหารประเทศของตนเองลาออกจากตำาแหน่ง รวมถึงล้มล้างระบอบ การปกครอง ซึ่งลักษณะดังกล่าวสามารถเรียกได้ว่าเป็นการก่อความไม่สงบ (insurgency) ในบทความนี้ ได้แบ่งลักษณะของการก่อความไม่สงบของอาหรับ สปริงออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1) การก่อความไม่สงบโดยไม่ใช้อาวุธ และ 2) การก่อความไม่สงบโดยใช้อาวุธ นอกจากนี้บทความนี้ยังได้กล่าวถึงการใช้โซเชี่ยลมีเดีย (social medias) ในฐานะเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่การปฏิวัติ นอกจาก นี้ปรากฏการณ์อาหรับสปริงยังเป็นเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนและเป็นพลวัตรที่ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นแนวทางในการดำเนินการต่อสถานการณ์ อาหรับสปริงจึงอยู่ที่ความสามารถในการควบคุมความวุ่นวายของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

 

Arab Spring : A New Kind of Insurgency Leading to People’s Revolution

Arab Spring is a new phenomenon of demonstrations, protests, and conflicts occurring in the Arab region. The demonstrations and protests have all been critical of the government in their own countries, though they have ranged from calls for the current government to make certain policy changes to attempts to bring down the present political system in its entirety. For this paper, the Arab Spring can be called an insurgency which can be divided into 2 types: 1) unarmed insurgency and 2) armed insurgency. Furthermore, social media become acceleration tools for insurgency leading to revolution. Finally, as Arab Spring is complex and dynamic event, it is difficult to anticipate if and how it evolves. Consequently, one of the main strategic issues for the government concerned is when and where to deploy resources and how would be required to control the disorder.

Article Details

How to Cite
นันทขว้าง ธ. (2013). “อาหรับสปริง” รูปแบบใหม่ของการก่อความไม่สงบที่นำไปสู่การปฏิวัติประชาชน. ASIA PARIDARSANA, 34(1), 25–49. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/92096
Section
บทความวิจัย (Research Articles)
Share |