ความสำคัญของคุณธรรม 8 ประการสำหรับเยาวชน

ผู้แต่ง

  • ดวงพร ปานะพราหม นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

คุณธรรม, พฤติกรรมเชิงจริยธรรม, สติปัญญา

บทคัดย่อ

คุณธรรม เป็นหัวใจสำคัญต่อพฤติกรรมเชิงจริยธรรม บ่งถึงการแสดงออกทางกาย ทางวาจาและทางใจ ตลอดถึงหลักคิด วิธีพูด วุฒิภาวะของแต่ละบุคคล ซึ่งจะส่งผลต่อการตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่งของปัจเจกบุคคล  โดยเฉพาะผู้ที่เป็นผู้นำองค์กร หน่วยงาน หรือปัญญาชน หลักคิดวิธีการของบุคคลเหล่านี้จะมีอิทธิพลส่งผลให้สังคมเกิดการเคลื่อนไหวทั้งความคิดและสติปัญญา คุณธรรม 8 ประการ จึงเป็นบารมรธรรมอย่างหนึ่งที่นำพาบุคคลให้ประสบความสำเร็จในทุกๆ ด้าน

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2523). ความรู้สำหรับครูกลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัยจริยศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2523). แนวทางการพัฒนาจริยธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2532). พจนานุกรมไทย-อังกฤษ (ฉบับใหม่), กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บำรุงสาส์น,

ประยงค์ สุพาณิช และคณะ. (2537). ธรรมะสำหรับผู้บังคับบัญชา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช.

ประทีบ ม.โกมลมาศ. (2531). หนังสือส่งเสริมการอ่านจริยศึกษา เล่ม 4. กรุงเทพมหานคร : ธีรพงษ์การพิมพ์.

พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยุตฺโต. (2540). ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม(ฉบับเพิ่มเติมและปรับปรุงเพื่อช่วยความทรงจำ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

รุจิร์ ภู่สาระ และคณะ. (2521). แบบเรียนแนวหน้าชุดพัฒนากระบวนการสร้างเสริมลักษณะนิสัยชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.

วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2535). พจนานุกรมไทย-อังกฤษ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรพิทยา.

เสฐียร โกเศศ และนาคประทีป. (2525). จริยศึกษาประจำตัวนักเรียน. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์อักษร เจริญทัศน์.

สมคิด ไชยยันบูรณ์. (2535). การสอนจริยศึกษา, กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เผยแพร่แล้ว

30-11-2024