บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ต่อการสร้างความรู้ความเข้าใจด้านทักษะดิจิทัลให้กลายเป็นพลเมืองดิจิทัล
คำสำคัญ:
ความรู้, ทักษะดิจิทัล, พลเมืองดิจิทัลบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาบทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามต่อการสร้างความรู้ความเข้าใจด้านทักษะดิจิทัลให้กลายเป็นพลเมืองดิจิทัล โดยการวิจัยนี้เป็นรูปแบบของการวิจัยและพัฒนา ผลการศึกษาพบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามจะมีบทบาทในการสร้างความรู้ความเข้าใจทักษะดิจิทัลต่อประชาชนในเขตพื้นที่ในรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ และรูปแบบการเรียนรู้ด้านทักษะดิจิทัลดำเนินการผ่าน 2 โครงการหลักได้แก่ โครงการธรรมะหรรษา และเวทีประชาคมที่ชุมชนจะมาแลกเปลี่ยนกับองค์การบริหารส่วนตำบลเหมืองใหม่ รวมถึงการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้จะมีการสอดแทรกประเด็นทางสังคมทำให้ประชาชนในพื้นที่ผ่านการเรียนรู้ทักษะด้านดิจิทัลในรูปแบบทางอ้อมและไม่เป็นทางการมากกว่า
References
ธนาชัย ธีรพัฒนวงศ์. (2561). ปัญหายุทธศาสตร์เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารภาครัฐ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 8(1).
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2560). แผนยุทธศาสตร์กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ.2562-2565. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.
วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์. (2558). พลเมืองดิจิทัล. เชียงใหม่: คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
รพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2561). คู่มือพลเมืองดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.
พีรวิชญ์ คำเจริญ และวีรพงษ์ พลนิกรกิจ. (2561). เด็กกับการรู้เท่าทันดิจิทัล. วารสารวิชาการ นวัตกรรมสื่อสารสังคม. 6(2): 22-30.
ปารวีร์ กุลรัตนาวิโรจน์. (2548). การพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่บ้านชนบทแห่งหนึ่ง จังหวัดชัยนาท. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาพยาบาลชุมชนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562). รายงานผลการสํารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ : สํานักยุทธศาสตร์ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.
เอกชัย กี่สุขพันธ์.(2559). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล (School Management in Digital Era). สืบค้นจาก http://www.trueplookpanua.com.
Elmore, Richard E. (1978). Organizational Models of Social Program Implementation. Public Policy 26 (2).
Matland, RE (1995) Synthesizing the implementation literature: The ambiguity–conflict model of policy implementation. Journal of Public Administration Research and Theory 5(2): 145–174.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 พุทธมัคค์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.