การสร้างมูลค่าเพิ่มในกิจกรรมระหว่างการท่องเที่ยวเชิงอาหารท้องถิ่น และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

Main Article Content

ภูริ ชุณห์ขจร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้เป็นการวิเคราะห์เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการกำหนดรูปแบบการสร้างกิจกรรมร่วมระหว่างการท่องเที่ยวเชิงอาหารท้องถิ่นและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยขั้นตอนแรกของ การวิเคราะห์จะเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าร่วมกับการวิเคราะห์คุณสมบัติและคุณค่าของสินค้าหรือบริการ ซึ่งการวิเคราะห์ดังกล่าวจะทำให้เห็นความแตกต่างของความต้องการจากกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีวัตถุประสงค์ในการท่องเที่ยวเชิงอาหารท้องถิ่นและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่แตกต่างกัน หลังจากนั้นจะเป็นการวิเคราะห์กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารท้องถิ่นและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยกระบวนการวิเคราะห์ดังกล่าวสามารถนำไปใช้ในการกำหนดรูปแบบของการจัดกิจรรมร่วมกันระหว่างการท่องเที่ยวเชิงอาหารท้องถิ่นและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2559). Value Creation Handbook. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.dbd.go.th/download/article/article_20161103115457.pdf

กองวิจัยการตลาด. (2559). ความคิดเห็นเชิงลึกต่อการท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายในจังหวัดขอนแก่น. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562, จาก http://www.etatjournal.com/web/menu-read-tat/menu-2016/menu-32016/734-32016-khon-kaen

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2551). การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562, จาก www.elfhs.ssru.ac.th/phanitthat_pu/mod/resource/view.php

ญาณภา บุญประกอบ, สิริพร เขตเจนการ, โยธิน แสวงดี และคนอื่น ๆ. (2560). อาหารพื้นถิ่นกับกลไกในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ : กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง จังหวัดชัยนาท. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(พิเศษ), 93-108.

เบญจมาภรณ์ ชำนาญฉา. (2561). การท่องเที่ยวเชิงอาหาร : ศักยภาพและความได้เปรียบของประเทศไทย. วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 24(1), 103-116.

ปิ่น บุตรี. (2561). เที่ยวสุขภาพดีที่ “ระนอง”...แช่น้ำแร่สุดฟิน กินเที่ยวเพลินใจ ไหว้เทพสุขภาพสุดอันซีน. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://mgronline.com/travel/detail/9610000001846

วรพงศ์ ผูกภู่. (2562). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.randdcreation.com/content/4738/การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว

วรรณา วงษ์วานิช. (2546). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2561). เทรนด์ท่องเที่ยวดี SME รีบคว้าโอกาส. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/Tourism-trend_SME-Opportunity.pdf

สุนีย์ วัฑฒนายน. (2557). 6 อาหารท้องถิ่น วัฒนธรรมการกินแบบพื้นบ้าน สืบสานสู่อาเซียน. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 1(1), 34-44.

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (ม.ป.ป.). การท่องเที่ยวเชิงอาหาร. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://www.dasta.or.th/th/.../840_da12fl2c9915698bd10e50c811eba772

Cohen, E. and Avieli, N. (2010). Food tourism : Attraction and impediment. Annals of Tourism Research, 31(4), 755-778.

Douglas, P. (2001). Tourist development. London: Pitman.

Hall, C. M. and Mitchell, R. (2000). We are what we eat : Food, tourism and globalization. Tourism Culture and Communication, 2, 29-37.

Hall, C. M. and Sharples, L. (2003), The consumption of experiences or the experience of consumption. Retrieved February 25, 2019 from https://www.taylorfrancis.com/books/e/9780080477862/chapters/10.4324/9780080477862-9

Hall, M. C. (2003). Food tourism around the world : Management and markets. Retrieved February 25, 2019 from http://shora.tabriz.ir/Uploads/83/cms/user/File/657/E_Book/Tourism/Food%20Tourism.pdf

Kesimoglu, A. (2015). A reconceptualization of gastronomy as relational and reflexive. Hospitality and Society, 5(1), 71-91.

Ritchie, J. R. and Crouch, G. I. (2003). A model of destination competitiveness/sustainability : Brazilian

perspectives. Retrieved February 25, 2019 from http://www.scielo.br/pdf/rap/v44n5/v44n5a03.pdf

Santich, B. (1996). Looking for flavour. Kent Town: Wakefield.

Scarpato, R. (2002). Gastronomy as a tourist product : The perspective of gastronomy studies, In A. M. Hjalager and G. Richards (eds.), Tourism and gastronomy. Retrieved February 25, 2019 from https://www.researchgate.net/publication/305386515_Gastronomy_as_a_tourist_product_The_perspective_of_gastronomy_studies

United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO). (2008). The 2008 Santa Fe UNESCO international conference on creative tourism in Santa Fe. Retrieved February 25, 2019 from https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/ pf0000159811

World Tourism Organization. (2012). Global report on food tourism : AM report volume four. Retrieved February 25, 2019 from https://urbact.eu/sites/default/files/import/Projects/Gastronomic_Cities/outputs_media/Food_tourism.pdf