Postgraduate Education Service Quality and Student Satisfaction: Heilongjiang Bayi Agricultural University, China

ผู้แต่ง

  • Liu Hongshan
  • Manoch Prompanyo 0800580663

คำสำคัญ:

postgraduate education service, service quality, student satisfaction

บทคัดย่อ

This paper discusses the connotation and characteristics of postgraduate education service and postgraduate education service quality; considers postgraduates as the core stakeholder of postgraduate education and the main body of evaluation of postgraduate education service quality; analyzes the causality between postgraduate education service quality and student satisfaction. The revised SERVQUAL scale can be used to measure service quality and student satisfaction. A stratified sampling method was adopted to conduct a questionnaire survey among 222 postgraduates in HBAU, and the survey results were analyzed by SPSS. The analysis results show that postgraduates are generally dissatisfied with the service quality of HBAU. Variables such as gender, work experience, undergraduate graduation institution types, enrolment ways and school will affect postgraduates’ satisfaction with the service quality of postgraduate education.

Author Biography

Manoch Prompanyo, 0800580663

อาจารย์ ดร. มาโนช พรหมปัญโญ

อาจารย์ประจำ

รอฃคณบดี ฝ่ายวิชาการ และการประกันคุณภาพการศึกษา  

คณะการจัดการ

มหาวิทยาลัยชินวัตร

 

ประวัติการศึกษา :

พ.ศ. 2560 ปริญญาเอก   ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต การจัดการ (การจัดการอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว)

                             มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ศ. 2558 ปริญญาโท    บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต การจัดการบริการ

                             มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

พ.ศ. 2548 ปริญญาโท    อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

                             จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พ.ศ. 2553 ปริญญาตรี    คหกรรมศาสตรบัณฑิต โรงแรมและภัตตาคาร

                             มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช   

พ.ศ. 2544 ปริญญาตรี    ศิลปศาสตรบัณฑิต ประวัติศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2)

                             มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

หลักสูตรการอบรมในประเทศและต่างประเทศ :

  • Library Fellowship, National University of Singapore (NUS), 2003.
  • The Knowledge System for Sustainable Development, Arizona State University, U.S.A. on Water Governance and Local wisdoms management, 2006.
  • Supply Chain Management and American Culture, Oklahoma State University, U.S.A., 2012
  • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “โครงการวิจัยสุขภาพในนักศึกษา”, 2542.
  • โครงการสัมมนาเรื่อง “การขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจากองค์กรภายนอก” มหาวิทยาลัยสยาม, ณ วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549.
  • โครงการค่ายวัฒนธรรมไทย รุ่นที่ 2 โดยมหาวิทยาลัยสยาม คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว ณ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2550
  • โครงการค่ายวัฒนธรรมไทย รุ่นที่ 4 โดยมหาวิทยาลัยสยาม คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2553
  • โครงการ Tourism Management Training Program กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ณ วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2559.
  • โครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” รุ่นที่ 3 โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, ณ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2560.

 

ประวัติการทำงาน :

พ.ศ. 2544-2547         โรงแรมซิตี้เรสซิเดนซ์ พระราม 6 (บริษัทบ้านรองเมือง จำกัด)

                             ตำแหน่งเลขานุการผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่การตลาด

พ.ศ. 2547-2548                   บริษัทพร้อมมิตรโปรดักชั่นจำกัด (มหาชนฉ

                             ตำแหน่งนักวิจัยทางประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์นเรศวรมหาราช

พ.ศ. 2548-2549                   มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสังคมศาสตร์ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม

                             ตำแหน่งนักวิจัย

พ.ศ. 2549-2559                   มหาวิทยาลัยสยาม คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว

                             ตำแหน่งอาจารย์ประจำ

พ.ศ. 2559-2561                   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยสหวิทยาการ

                             ตำแหน่งหัวหน้าสาขาการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

พ.ศ.2561-2562                    มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ

                             ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการบริการธุรกิจเรือสำราญ

                             ผู้ช่วยคณบดี วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ

                             ผู้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร และคณะ

พ.ศ.2563-ปัจจุบัน        มหาวิทยาลัยชินวัตร คณะการจัดการ

                             ตำแหน่งรองคณบดี ฝ่ายวิชาการและการประกันคุณภาพการศึกษา

                             มหาวิทยาลัยชินวัตร  

 

ผลงานวิชาการ :

การนำเสนอบทความวิจัย/วิชาการ :

มาโนช พรหมปัญโญ, ลลิตา เลิศโรจนชูสิทธิ์, วรายุธ คิกปัญญาวุฒิ, และสรวี ดวงใจแก้ว, 2559, พฤติกรรมการบริโภคและความคิดเห็นของผู้ซื้อต่อบริการของสยามยูนิเวอร์ซิตี้ช๊อป, การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 54 สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ. ระหว่างวันที่ 2-5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

มาโนช พรหมปัญโญ และชลธิชา อาชีพดี, 2559, คุณภาพการให้บริการของบริษัทนำเที่ยวไทยในตลาดอีคอมเมิร์ซ,การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 54 สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ. ระหว่างวันที่ 2-5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

มาโนช พรหมปัญโญ, ปัทมา คงม่วง, ปัจจัยส่งเสริมความสำเร็จในบริษัทนำเที่ยวไทย, การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง “วิจัยสหวิทยาการและกลยุทธ์การสร้างนวัตกรรมเพื่อการแข่งขันและการพัฒนาประชาคม” วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัคริสเตียน จังหวัดนครปฐม.

มาโนช พรหมปัญโญ, กัมพล สำราญจิตต์, วารี บัวทอง, และพิภู พรวิวัฒนา, 2560, ความพึงพอใจของพนักงานโรงแรมสันติบุรี, การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ. ระหว่างวันที่ 31 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

มาโนช พรหมปัญโญ, ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบริษัทนำเที่ยวเพื่อประกอบกิจการฮัจย์ในประเทศไทย, การประชุมวิชาการระดับชาติในวันฉลองครบรอบ 25 ปี ธรรมศาสตร์ ลำปาง “ปัญจวีสวรรษ ธรรมศาสตร์ลำปาง นำทางประชา พัฒนาสู่สากล” กลุ่มที่ 2 “ความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมต่อการพัฒนา: จากท้องถิ่นสู่ภูมิภาค” ณ ห้อง 3212 เวลา 13.30-14.00 น. วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Manoch Prompanyo, Impression and Obstacles to the Provision of Services in Budget Hotels: a Case Study of Koh Samui Resort, Surat Thani Province, The RSU National Research Conference 2017, Rangsit University, Pathum Thani, Thailand.

มาโนช พรหมปัญโญ, บัณฑิตที่พึงประสงค์ธุรกิจการท่องเที่ยว โรงแรมและบริการ, การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง “การจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปแบบบูรณาการ” วันที่ 23-24 กันยายน พ.ศ. 2553 ณ ห้องศรีจันทร์ ชั้น 4 โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส ของแก่น โดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น และเครือข่ายเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

มาโนช พรหมปัญโญ และมณฑิชา เครือสุวรรณ์, 2561, ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อคุณภาพการบริการของสายการบินไทยแอร์เอเชีย, บทความวิจัยในการประชุมวิชาการด้านการบินระดับชาติ ครั้งที่ 1 ณ โรงแรม โนโวเทล สุวรรณภูมิ  ประจำปี 2561 (วันที่ 11 มิถุนายน 2561 ) หน้า 23-35. 

Qiuyang Bai, Manoch Prompanyo. 2020. Fund-Raising Management of Chinese University Foundations from the Perspective of Alumni Donation Willingness: A Case of Universities in Hennan Province. International Business Research, Vol.13, No.7; 108-112.

Ying Wei, Ntapat Worapongpat and Manoch PRompanyo. 2020. Route Selection of Thai Fruit Maritime Logistics Between Thailand and Southern China. วารสารรวัตกรรมการบริหารและการจัดการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. หน้า 101-115.

Qiuyang Bai, Ntapat Worapongapat, and Manoch Prompanyo. 2020. An Empirical Study of Influential Factors of University Alumni Donation Willingness: A Case of Nanyang Institute of Technology. วารสารรวัตกรรมการบริหารและการจัดการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. หน้า 61-72.

มาโนช พรหมปัญโญ และคณะ. 2019. การพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์และพัฒนาบุคลิกภาพ: รูปแบบการเรียนการสอนแบบคิดแก้ปัญหา. การประชุมวิชาการนิทรรศการการเรียนการสอน ประจำปี 2562. น.181-193.

Li Wang and Manoch Promapnyo. 2020. Modeling the relationship between perceived values, e-satisfaction, and e-loyalty. Management Science Letter. 10 (2020) pp.2609-2616.

Li Wang and Manoch Promapnyo. 2020. A Validation of the Multidimentional Perceived Value in the Model of E-loyalty towards Sino-Thai Cross-border E-Commerce based on China’s Customers. Journal of Business Research-Turk. 2020, 12 (2), pp.1014-1022.

 

การประกวด/รางวัล :

รางวัลชมเชย, โครงการสมุดเพื่อน้องผู้ด้อยโอกาสในสังคม, ภายใต้โครงการปลูกจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม “อิสระทางความคิด เนรมิตสิ่งแวดล้อม” สำนักงานสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร, 2556

รางวัลชมเชย, โครงการธนาคารความดี จิตอาสาเพื่อพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, ภายใต้โครงการปลูกจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม “อิสระทางความคิด เนรมิตสิ่งแวดล้อม” สำนักงานสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร, 2556

 

หนังสือ ตำรา :

นิตยาภรณ์ พรมปัญญา และมาโนช พรหมปัญโญ, พม่าในแบบเรียนของไทย, ในสุเนตร ชุตินธรานนท์ และคณะ, 2556, ชาตินิยมในแบบเรียนไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2557, สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (Republic of The Union of Myanmar), กรุงเทพฯ: บริษัทสื่อสร้างสรรค์พัฒนา.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2557, สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน : เนการาบรูไนดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam), กรุงเทพฯ: บริษัทสื่อสร้างสรรค์พัฒนา.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2557, สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน : สหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of Malaysia), กรุงเทพฯ: บริษัทสื่อสร้างสรรค์พัฒนา.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2557, สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of The Philippines), กรุงเทพฯ: บริษัทสื่อสร้างสรรค์พัฒนา.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2557, สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore), กรุงเทพฯ: บริษัทสื่อสร้างสรรค์พัฒนา.

 

บทความวิจัยในฐาน TCI :

มาโนช พรหมปัญโญ และศิริวรรณ เสรีรัตน์, 2558, ความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว แรงจูงใจและทัศนคติที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยววัดในอำเภอนครศรีอยุธยา, วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 43-58.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2557, การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเพื่อประกอบพิธีฮัจย์ในประเทศไทย, วารสารการบริการและการท่องเที่ยว, ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 78-93.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2556, แนวทางการเตรียมความพร้อมการท่องเที่ยวเชิงพุทธจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน, วารสารการบริการและการท่องเที่ยว, ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 36-47.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2555, ชนต่างภาษาในทัศนะของชนชั้นสยาม: ประวัติศาสตร์นิพนธ์ ชาติพันธุ์วรรณนา และความหลากหลายในพหุสังคมรัตนโกสินทร์, กระแสวัฒนธรรม, ปีที่ 13 ฉบับที่ 24 หน้า 56-66.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2554, การพัฒนาการการศึกษาและกรอบความคิดที่ว่าด้วยประวัติศาสตร์พม่ายุคคองบองในงานประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย, กระแสวัฒนธรรม, ปีที่ 12 ฉบับที่ 21 หน้า 3-12.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2553, บทวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายของการท่องเที่ยวรูปแบบ MICE ในจังหวัดเชียงใหม่, กระแสวัฒนธรรม, ปีที่ 11 ฉบับที่ 20 หน้า 37-48.

มาโนช พรหมปัญโญ, 2550, ความภาคภูมิใจในความเป็นไทยของเยาวชนไทย, กระแสวัฒนธรรม, ปีที่ 8 บับที่ 13 หน้า 67-74.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

References

Athiyaman Adee. (1997). Linking student satisfaction and service quality perceptions: the case of university education. European Journal of Marketing, 31 (7), 528-540.

Chen Junliang, Liu Jun et al. (2017). Analysis on the influencing factors of student satisfaction with teaching quality in higher vocational colleges: based on the survey of 3 higher vocational colleges in Nanchang. Higher Vocational Teaching, 8, 5-9.

Ham C L. (2003). Service quality, customer satisfaction, and customer behavioral intentions in higher education. Dissertation Abstracts International, 64(5),1758.

Hu Zixiang. (2006). Research on the evaluation model of higher education service quality. Modern University Education, 2, 61-67.

Kimani, Sarah Wambui, Kagira, Elias Kiarie, & Kendi, Lydia. (2011). Comparative analysis of business students perceptions of service quality offered in Kenyan universities. International Journal of Business Administration, 2(1), 98.

Li Min. (2016). Research on the evaluation system of higher education service quality. Journal of Social Sciences of Shanxi Colleges and Universities, 28(4), 69-72.

Li Zhenxiang & Wen Jing. (2012). An empirical study on the improvement of student satisfaction and attractiveness in higher vocational colleges. Educational Research, 8, 71-76.

Ma Wanmin. (2009). The evaluation model of higher education service quality. Modern Education Management, 1, 62-64.

Oldfield, Brenda M, & Baron, Steve. (2000). Student perceptions of service quality in a UK university business and management faculty. Quality Assurance In Education, 8(2), 85-95.

ShankM.D.,Walker, M.&Hayes,T. (1995). Understanding professional service expectation: Do we know what our students expect in a quality education. New York: Journal of Professional Services Marketing,13(1), 71-89.

T Levitt. (1972). A product-line approach to service. Harvard Business Review, 50(5), 62-65.

Tax S S&Brown S. (1998). Recovering and learning from service failure. Sloan Management Review, 40(1), 75-88.

Tian Xizhou & Wang Xiaoman. (2007). Investigation and analysis of college students’ satisfaction. Higher Education Exploration, 5, 126-128.

VL Lewis&NC Churchill. (1983). The five stages of small business growth. Social Science Electronic Publishing, 3(3).

Yang Lanfang, Chen Wanming & Wu Qingxian. (2011). Research on the status and influencing factors of student satisfaction with higher education service quality-based on the survey and analysis of undergraduates from eight universities in Jiangsu. Value Engineering, 30(34), 1-4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30