ภาวะผู้นำและวัฒนธรรมองค์การของศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, วัฒนธรรมองค์การ, ศูนย์ซ่อมอากาศยานกองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการบทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้เป็นการเรียบเรียงข้อมูลที่ได้จากการทำวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้นำและวัฒนธรรมองค์การของศูนย์ซ่อมอากาศยานกองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ ทั้งนี้เพื่อที่ต้องการจะทราบถึงภาวะผู้นำของหน่วยขึ้นตรงศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือกองเรือยุทธการ และวัฒนธรรมองค์การของหน่วยขึ้นตรงศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ โดยผู้วิจัยพยายามที่จะอธิบายผ่านทฤษฎีผู้นำการเปลี่ยนแปลง ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ รวมไปถึงทฤษฎีเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การ และผลจากการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นำของหน่วยขึ้นตรงศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ เป็นไปตามแนวคิดของ Bass และ Avolio กล่าวคือ มีความพยายามในการสร้างภาวะผู้นำเชิงบารมี มีการกระกระตุ้นทางปัญญา โดยการเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่สำคัญๆ มีการกระตุ้นให้มีเกิดการพัฒนาตนเอง และรวมไปถึงการสร้างแรงบัลดาลใจให้แก้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาด้วย นอกจากนี้ผู้วิจัยยังพบว่า ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ มีวัฒนธรรมองค์การที่เน้นบทบาทหน้าที่ เนื่องจากหน่วยขึ้นตรงศูนย์ซ่อมอากาศยานเป็นหน่วยงานราชการ จึงมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบกำหนดไว้อย่างชัดเจน ถึงแม้จะให้อิสระในการตัดสินใจ แต่การตัดสินใจนั้นต้องอยู่ในขอบเขตที่กำหนดไว้ และมีระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ที่ชัดเจน มีการประชุมเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่วมกันเสมอ
References
ภาษาอังกฤษ
Avolio, B. J., Bass, B. M., & Jung, D. I. (1999). Re‐examining the
components of transformational and transactional leadership using the Multifactor Leadership. Journal of occupational and organizational psychology, 72(4), 441-462.
Blake, R. R., Mouton, J. S., & Bidwell, A. C. (1962). Managerial
grid. Advanced Management – Office Executive, 1(9),
Handy, C. B. (1996). Gods of management: The changing work
of organizations. Oxford University Press, USA.
ภาษาไทย
กฤษดา โนนพล, จ่าเอก. (31 มีนาคม 2563). ช่างแผนกเครื่องมือทดสอบ
กองควบคุมคุณภาพศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ.
สัมภาษณ์.
กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ. (ม.ป.ป.). ข้อมูลทั่วไป. ค้นเมื่อ 17
กุมภาพันธ์ 2563, จาก,http://www.thaiflynavy.org/fly
จริญญา ขวัญใจ. (2548). ภาวะผู้นำในองค์การภาครัฐ: ศึกษาเฉพาะกรณีกรมพัฒนา
ฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์
มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์). มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
จารุเดช จันทรมณี, จ่าเอก. (31 มีนาคม 2563). ช่างแผนกซ่อมเครื่องยนต์
กังหันก๊าซ กองซ่อมเครื่องยนต์ ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบิน
ทหารเรือ. สัมภาษณ์.
ชินวัตร โพธิ์ทอง, จ่าเอก. (30 มีนาคม 2563). เสมียนแผนกจัดแผนงาน กอง
บริหารซ่อมสร้างศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ.
สัมภาษณ์.
ชนินทร์ คาผง, จ่าเอก. (31 มีนาคม 2563). ช่างแผนกถอดและประกอบ
กองซ่อมอากาศยานศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ.
สัมภาษณ์.
ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล. (2553). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างภาวะ
ผู้นำ วัฒนธรรมองค์การ การจัดการความรู้ และผลการปฏิบัติงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธัญวรัศมิ์ เพียววาณิช. (2554). ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การ จิตวิญญาณ
องค์การกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของผู้จัดการบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธารงศักดิ์ บุญปอง. (30 มีนาคม 2563). ช่างกลโรงงาน ระดับ 2 กองโรงงาน
ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
นิวาส เวินเสียง, จ่าเอก. (30 มีนาคม 2563). เสมียนแผนกจัดซื้อ
กองบริหารซ่อมสร้าง ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
บุญฤทธิ์ กรวยทรัพย์, จ่าเอก. (2 เมษายน 2563). เสมียนแผนกฝึกอบรม
กองพัฒนาการช่างศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
เบญจพร แก้วมีศรี. (2545). การนำเสนอรูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะ
ภาวะผู้นำของผู้บริหารวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณะสุข. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิยนุช เงินชูศรี. (2561). รูปแบบภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สาหรับ
ผู้บริหารระดับกลางในภาคธุรกิจด้านการรักษาความปลอดภัย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พงษ์เทพ จันทสุวรรณ. (2554). ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การกับ
ประสิทธิผลองค์การ ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร: ตัวแบบสมการโครงสร้าง. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พัฒนาสังคมและการจัดการสิ่งแวดล้อม). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พรเทพ นราศรี, จ่าเอก. (31 มีนาคม 2563). เสมียนแผนกเครื่องมือทดสอบ
กองควบคุมคุณภาพศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
พรหมรักษ์ ราคา, จ่าเอก. (1 เมษายน 2563). เจ้าหน้าที่คลังพัสดุ กองพัสดุ
ช่าง ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
พสธรณ์ พรสวัสดิ์, จ่าเอก. (1 เมษายน 2563). เสมียนแผนกฝึกอบรม กอง
พัฒนาการช่างศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
พันทิวา สุพัฒนาภรณ์. (2556). ภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์การ
กรณี บริษัทไทยอกริฟู๊ดจำกัด (มหาชน). ภาคนิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารประยุกต์). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พีระ ฉิมปรี. (2556). การพัฒนาภาวะผู้นำของกองทัพบกในยุค
โลกาภิวัฒน์ ศึกษาเฉพาะกรณีนายทหารฝ่ายเสนาธิการ ในกองบัญชาการกองทัพบก. ภาคนิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาการจัดการสาธารณะ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ยุทธชัย ยี่โถขาว. (2 เมษายน 2563). ช่างเครื่องยนต์อากาศยาน กองซ่อม
เครื่องยนต์ ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
ลือชัย รุดดิษฐ์, พลเรือเอก. (2562). นโยบายผู้บัญชาการทหารเรือ ประจำ
ปีงบประมาณ 2562. กรุงเทพมหานคร: กรมสารบรรณทหารเรือ.
วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ. (2562). เอกสารประกอบการบรรยาย กระบวน
วิชา POL 7400องค์การ และนวัตกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะรัฐศาสตร์.
ศักรินทร์ ทานุ, จ่าเอก. (30 มีนาคม 2563). ช่างแผนกอบชุบและเคลือบ
กองโรงงานศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
ศักรินทร์ ยอดแก้ว, จ่าเอก. (2 เมษายน 2563). เสมียนคลังพัสดุกองพัสดุ
ช่าง ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
สุทธิเวท บุญยรัตกลิน, พันตำรวจเอก. (2560). การเปลี่ยนแปลงทาง
การเมืองกับผู้นำหน่วยงานภาครัฐ: กรณีศึกษาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ระหว่าง พ.ศ. 2549 – 2557. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง), มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
อนุรักษ์ คาศรีระภาพ, จ่าเอก. (1 เมษายน 2563). ช่างแผนกซ่อมบริภัณฑ์
ไฟฟ้า กองซ่อมบริภัณฑ์ ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
อภิสิทธิ์ ต้อนไล่, จ่าเอก. (1 เมษายน 2563). ช่างแผนกซ่อมบริภัณฑ์กล
กองซ่อมบริภัณฑ์ศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
เอกพงษ์ สินโน, จ่าเอก. (1 เมษายน 2563). ช่างแผนกซ่อมโครงสร้าง กอง
ซ่อมอากาศยานศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ. สัมภาษณ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทัศนะและข้อคิดเห็นจาก บทความในวารสารเป็นของผู้เขียน ไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำและศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา การนำบทความในวารสารไปตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตจาก กองบรรณาธิการ