การเมืองใน “หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่” (1984) ของจอร์จ ออร์เวลล์

ผู้แต่ง

  • Sirachat Totussa คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่, 1984, จอร์จ ออร์เวลล์, วรรณกรรมทางการเมือง

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษานัยทางการเมืองในวรรณกรรมเรื่อง “หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่” ของจอร์จ ออร์เวลล์ โดยใช้วิธีการตีความตัวบท ผลการศึกษาพบว่า วรรณกรรมเรื่องนี้สะท้อนถึงการปกครองระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จ รวมไปถึงการใช้เครื่องมือและวิธีการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสร้างความภักดีของพลเมืองต่อรัฐ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อผ่านโปสเตอร์, กิจกรรมปลูกฝังความเกลียดชังต่อศัตรูที่พรรคสร้างขึ้นมา, การใช้ความกลัวและความรุนแรงในการควบคุมความคิดจิตใจ, การสร้างภาษารูปแบบใหม่ ตลอดจนการลบประวัติศาสตร์ ความทรงจำ และการสร้างความจริงใหม่ที่พรรคกำหนดเข้าแทนที่

References

Atlas Translation. (n.d.). NOVELS IN TRANSLATION: GEORGE ORWELL NINETEEN EIGHTY-FOUR. Retrieved on 5 April 2022 from https://www.atlas-translations.co.uk/blog/orwell/

Longley, R.. (2022). Totalitarianism, Authoritarianism, and Fascism. Retrieved on 1 May 2022 from https://www.thoughtco.com/totalitarianism-authoritarianism-fascism-4147699

Modern Library. (n.d.). 100 Best Novels. ค้นเมื่อ Retrieved on 5 April 2022 from https://www.modernlibrary.com/top-100/100-best-novels/

Orwell, George. (1958). Why I Write. In Bot, G. (Ed.). George Orwell Selected Writings (p. 99-105). London: William Heinemann.

Tannenbaum, D. G.. (2010). Totalitarianism. In Kurian, G.T.. (Ed.). The Encyclopedia of Political Science (p. 1673-1674). Washington, DC: CQ Press.

โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (ม.ป.ป.). หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์.

จอร์จ ออร์เวลล์. (2563). หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ มหานครแห่งความคับแค้น (สรวงอัปสร กสิกรานันท์, แปล). กรุงเทพ: แอร์โรว์.

ใจ อึ๊งภากรณ์. (2555). ใจ อึ๊งภากรณ์: หนังสือ 1984 ของ จอร์ช ออร์เวล กับสังคมไทย. ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2565 จาก https://prachatai.com/journal/2012/03/39545

ธงชัย วินิจจะกูล. (2553). ธงชัย วินิจจะกูล (2): ความตอแหลอันเป็นเอกลักษณ์ และ 1984 แบบไทยที่ Orwell ไม่รู้จัก. ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2565 จาก https://prachatai.com/journal/2011/12/38429

ธนา มณีพฤกษ์. (2562). เครื่องมือในสร้างความกลัว แก่ประชาชนรัฐโอชันเนีย จากวรรณกรรม 1984 Fearmongering in 1984: How Fear governthe people of Oceania. ใน สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ (บรรณาธิการ), การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้ง ที่ 10 The 10th Hatyai National and International Conference (หน้า 940-947). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ธุวพล ทองอินทราช. (2558). “บทวิเคราะห์วรรณกรรม 1984: ว่าด้วยการวิพากษ์สังคมการเมืองไทย” วารสาร เศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 : 57-82

ธุวพล ทองอินทราช. (2559). “อ่าน 1984 แล้ว รื้อถอน ท้าทาย การเมืองไทยในเชิงปรัชญา” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 : 1-23

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557). นิธิ เอียวศรีวงศ์: ความรักกับเผด็จการ. ค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565 จากhttps://prachatai.com/journal/2014/09/55723

ประชาไท. (2557ก). จนท.รวบหนุ่มกินแซนวิช-อ่านหนังสือ“1984”-เปิดเพลงชาติฝรั่งเศส หน้าห้างดัง ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2565 จาก https://prachatai.com/journal/2014/06/54169

ประชาไท. (2557ข). นักศึกษากินแซนด์วิชอ่าน’1984’ หน้าสถานทูตสหรัฐฯ พิสูจน์มาตรฐาน จนท.. ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2565 จาก https://prachatai.com/journal/2014/07/54340

รัฐพงศ์ หมะอุ. (2560). บทวิจารณ์วรรณกรรม เรื่อง Nineteen Eighty-Four (1984) by George Orwell. ค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565 จาก https://thanatchaarticle.blogspot.com/2017/04/nineteen-eighty-four-1984-by- george.html

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2557). สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ: 1984 กับการปรับทัศนคติ. ค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565 จาก https://prachatai.com/journal/2014/07/54641

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30