This is an outdated version published on 2024-06-28. Read the most recent version.

พัฒนาการของเมืองและคนจนเมืองในจังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • Tanit Toadithep Burapha University

คำสำคัญ:

พัฒนาการของเมือง, เมือง, คนจนเมือง, ชลบุรี

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของเมืองและการเกิดขึ้นของคนจนเมือง ในจังหวัดชลบุรี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า สถานะของเมืองมีลักษณะเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าชายทะเลที่เชื่อมโยงอยู่กับเมืองที่ตั้งอยู่บริเวณตอนในพื้นที่ราบลุ่มทำการผลิตทางด้านเกษตรกรรม การพัฒนาทางด้านโครงสร้างโดยเฉพาะถนนสุขุมวิท และการนโยบายการพัฒนาจากรัฐ ทำให้เมืองเกิดการขยายตัว อย่างรวดเร็วพร้อมกับการเคลื่อนย้ายของผู้คนเข้ามาจากต่างถิ่นเพื่อเข้ามาแสวงหาโอกาสทางด้านเศรษฐกิจในเมืองหรือเรียกว่า “คนจนเมือง” มีรายได้ที่ไม่สูงมากพักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งงานที่มีราคาถูกชุมชนแออัด หรือพื้นที่ที่นายจ้างจัดสรรให้ มีคุณภาพชีวิตที่ค่อนข้างต่ำ โอกาสที่จะปลดปล่อยตัวเองออกสู่ความยากจนเป็นได้ค่อนข้างยาก

References

ขวัญแก้ว อุดมบุญญานุภาพ (2546). กำเนิดและการขยายตัวของเมืองพัทยา. อักษรศาสตร์

มหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์). จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

โจนาธาน. (2546). ตามรอยตำนานเมืองพัทยากับ ปริญญา ชวลิตธำรง ผู้พลิกผืนแผ่นดินเมืองพัทยา.

กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ชัยณรงค์ เครือนวน. (2550) . เศรษฐศาสตร์การเมืองของการพัฒนาอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง.

วิทยานิพนธ์. หลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการ

บริหารจัดการ. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยณรงค์ เครือนวน. (2558) . ปฏิบัติการและการต่อสู้ทางวาทกรรมในการพัฒนาอุตสาหกรรม:

ศึกษากรณีการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ตัวแบบมาบตาพุด. วิทยานิพนธ์. หลักสูตรรัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์ และจุฑามาศ ไชยรบ (2545) วิถีชีวิตของผู้ประกอบการรายย่อยบนชายหาด

บางแสน: วิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยชุมชน. ภาควิชารัฐศาสตร์.

มหาวิทยาลัยบูรพา

ชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์ และชัยณรงค์ เครือนวน. (2556). โครงสร้างอำนาจและการสะสมทุนในจังหวัด

ชลบุรี. ชุดโครงการวิจัย “สู่สังคมไทยเสมอหน้า การศึกษาโครงสร้างความมั่งคั่งและโครงสร้างอำนาจเพื่อการปฏิรูป”

ณรงค์ พิระภิญโญ. (2529). การศึกษาเพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาชุมชนสุขาภิบาลแสนสุข

อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์. ปริญยาการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง. บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนิต โตอดิเทพย์. 2560. การพนันฟุตบอลในชีวิตประจำวันของสังคมอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง

ในภาคตะวันออก. รายงานการวิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ปัญญโชติ สอนคม. (2538). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชายหาดบางแสน. วิทยานิพนธ์.

การวางแผนภาคและผังเมืองมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภารดี มหาขันธ์. (2552). พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชลบุรี. พิมพ์ลักษณ์. ชลบุรี. คณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ภารดี มหาขันธ์. (2555) การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของภาคตะวันออก ยุคปรับปรุงประเทศตาม

แบบสมัยใหม่ถึงปัจจุบัน. สาขาวิชาไทยศึกษา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา

ภารดี มหาขันธ์ และนันท์ชญา มหาขันธ์. (2553). ตระกูลแซ่ในจังหวัดชลบุรี : วิถีและพลัง.

พิมพ์ลักษณ์. ชลบุรี. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เรวัต แสงสุริยงค์. 2542. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนเมือง บริเวณนิคมอุตสาหกรรมแหลม

ฉบังและมาบตาพุด. ภาควิชาสังคมวิทยา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา

สมชาย เดชะพรหมพันธุ์. (2530). การศึกษาเปรียบเทียบ ที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมือง

ชายฝั่ง ทะเลตะวันออก : จันทบุรี ระยอง และพัทยา. ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ชลบุรี.

สสนา ยุววุฑโฒ. (2537). การศึกษาสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน

ชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี: พื้นที่ศึกษาชุมชนบางแสน หาดวอน หนองมน.

ปริญญาศิลปะศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา

สิตางค์ เจริญวงศ์. (2558). ความเปลี่ยนแปลง “ชนบท” ประชาธิปไตยบนความเคลื่อนไหว

กรณีศึกษา ตำบลทุ่งสุขลา เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. รายงาน

การวิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

สุมาลี พันธุ์ยุรา. (2543). พัฒนาการของอำนาจท้องถิ่นในบริเวณลุ่มแม่น้ำบางประกงและชายฝั่งทะเล

ตะวันออก พ.ศ. 2440 – 2516. วิทยานิพนธ์. สาขาประวัติศาสตร์. ภาควิชาประวัติศาสตร์.

คณะอักษรศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วันชัย ปั้นทอง. (2525). การบริหารเมืองพัทยา. วิทยานิพนธ์. รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อัจนา วัฒนานุกิจ. (2529). สภาพสังคม-เศรษฐกิจของพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก.

โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อการจัดการศึกษาในบริเวณพื้นที่ชายทะเลตะวันออก. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี

โอฬาร ถิ่นบางเตียว (2546) ชีวิตแรงงานรับจ้างในไร่อ้อย. รายงานการวิจัย. กลุ่มเกษตรกร.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์

เฉลย เถื่อนชู. สัมภาษณ์. 4 กันยายน 2562

บุญเลิศ นะมะพะทะ. สัมภาษณ์. วันที่ 29 พฤศจิกายน 2562

พิศ ทองเจียม. สัมภาษณ์. 2 กุมภาพันธ์ 2563

นิยม สกุลวงศ์. สัมภาษณ์. วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563

อัมพร บำรุงผล. สัมภาษณ์ วันที่ 21 พฤษภาคม 2563

ไม่ประสงค์ออกนาม. สัมภาษณ์. 3 ธันวาคม 2563

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-28

Versions