PRINCIPLES OF HEARING OF EVIDENCE OCCURRED OR ACQUIRED WRONGFULLY ; A COMPARATIVE STUDY OF EVIDENCE ACQUIRED BY PRIVATE ENTITIES AND THAT ACQUIRED BY GOVERNMENT OFFICIALS
Main Article Content
Abstract
หลักการรับฟังพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นหรือได้มาโดยมิชอบตามมาตรา 226 และมาตรา 226/1 บัญญัติขึ้นเพื่อจำกัดอำนาจรัฐมิให้เจ้าหน้าที่รัฐแสวงหาพยานหลักฐานที่เป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยไม่ได้มีจุดมุ่งหมายที่จะนำมาใช้ห้ามรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาจากการแสวงหาของเอกชน ดังนั้น จึงเสนอแนวทางการรับฟังพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นหรือได้มาโดยมิชอบที่ได้มาจากการแสวงหาของเอกชน โดยการนำหลักผู้เสียหายโดยนิตินัยกับหลักการพิสูจน์จนสิ้นความสงสัยตามสมควรมาใช้กับพยานหลักฐานประเภทนี้
Article Details
Section
Articles
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
หนังสือ
อุทัย อาทิเวช. คู่มือกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 2 สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา, พิมพ์ครั้งที่ 2. (กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.เจ. พริ้นติ้ง, 2555) น.47.
วารสาร
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. “หลักการไม่ยอมรับฟังพยานวัตถุ พยานเอกสาร ซึ่งได้มาโดยการจับ การค้น การยึดที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในสหรัฐอเมริกา.” วารสารนิติศาสตร์ ฉบับที่ 3. ปีที่ 9. (ธันวาคม 2524) : 122
จิรนิติ หะวานนท์. “หลักการไม่ยอมรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ : เปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอเมริกาและกฎหมายเยอรมนี.” ดุลพาห. เล่ม 3. ปีที่ 31. (พฤษภาคม-มิถุนายน 2527) : 45-46
United States v. Jacobsen. 466 U.S. 109 (1984). อ้างใน Brian L. Willams, “Criminal Constitutional Law – An Attack on Fourth Amendment Protection: Security Guards and the “Private” Search Doctrine – State v. Buswell, 460 N.W.2D 614 (Minn.)” William Mitchell Law Review. Vol18. Iss.1, Article 7.
State v. Buswell, 460 N.W.2d 614 (1990), อ้างใน Brian L. Williams, “Criminal Constitutional Law-An Attack on Fourth Amendment Protection: Security Guards and the “Private” Search Doctrine-State v. Buswell, 460 N.W.2D 614 (Minn.)” William Mitchell Law Review Vol18: Iss.1. Article 7.
เว็บไซต์
State v. Castillo. “108 Idaho 205 (Idaho Ct. App. 1985).” https://casetext.com
/case/state-v-castillo-87.
States v. Patch. “114 F.3d 131. 134 (9th Cir. 1997).” https://casetext.com/case/
united-states-v-patch.
อุทัย อาทิเวช. คู่มือกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 2 สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา, พิมพ์ครั้งที่ 2. (กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.เจ. พริ้นติ้ง, 2555) น.47.
วารสาร
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. “หลักการไม่ยอมรับฟังพยานวัตถุ พยานเอกสาร ซึ่งได้มาโดยการจับ การค้น การยึดที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในสหรัฐอเมริกา.” วารสารนิติศาสตร์ ฉบับที่ 3. ปีที่ 9. (ธันวาคม 2524) : 122
จิรนิติ หะวานนท์. “หลักการไม่ยอมรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ : เปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอเมริกาและกฎหมายเยอรมนี.” ดุลพาห. เล่ม 3. ปีที่ 31. (พฤษภาคม-มิถุนายน 2527) : 45-46
United States v. Jacobsen. 466 U.S. 109 (1984). อ้างใน Brian L. Willams, “Criminal Constitutional Law – An Attack on Fourth Amendment Protection: Security Guards and the “Private” Search Doctrine – State v. Buswell, 460 N.W.2D 614 (Minn.)” William Mitchell Law Review. Vol18. Iss.1, Article 7.
State v. Buswell, 460 N.W.2d 614 (1990), อ้างใน Brian L. Williams, “Criminal Constitutional Law-An Attack on Fourth Amendment Protection: Security Guards and the “Private” Search Doctrine-State v. Buswell, 460 N.W.2D 614 (Minn.)” William Mitchell Law Review Vol18: Iss.1. Article 7.
เว็บไซต์
State v. Castillo. “108 Idaho 205 (Idaho Ct. App. 1985).” https://casetext.com
/case/state-v-castillo-87.
States v. Patch. “114 F.3d 131. 134 (9th Cir. 1997).” https://casetext.com/case/
united-states-v-patch.