PROBLEMS OF LAW ENFORCEMENT RELATING TO SECURITY BUSINESS
Main Article Content
Abstract
Thailand’s Business Security Act B.E. 2558 (2015) (The Act) supports private security services, but is hampered by a number of problems and limitations. An international comparative legal study was made of related laws in Singapore, the United Kingdom and The Republic of South Africa. The goal was to use the comparative research data to provide solutions to ongoing weaknesses in The Act and propose suggestions for resolving them.
Results were that The Act mainly focuses on controlling security business services and supervising groups of career personnel as security guards through these businesses. In addition, the legal intent to control service categories for career personnel as security guard meant that focus was placed on only one type of service, namely security services in residential and business premises such as office buildings, department stores, condominiums, and housing estates which are not covered in actual practice by different extant categories. So the supervision and oversight of career security guards is limited. By comparison, regulations overseas provided controls from the level of security personnel to the level of security service providers. So far, Thai law does not cover the duties and the different categories of services that occur as part of practical experience and lacks measures to monitor and supervise these careers.
The aforementioned issues create inconsistent, unsystematic, inappropriate legal enforcement, leading to many problems. These findings suggest that Thailand should revise The Act to regulate private security services by analyzing provisions in foreign law to find ways to correct defects, limitations, and applications in some areas to resolve issues in the most appropriate way.
Article Details
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
2. Security Providers Act 1993
3. Security Services Act 2007
4. สยามธุรกิจ, “ยุคทอง‘รปภ.-แจ๋ว’ค่าตัวพุ่ง แข่งเดือดชิงเค้ก 7 หมื่นล้าน/ตจว.เมินกรุงทำนาดีกว่า,” สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562, จาก http://www.southdeepoutlook.com/ShowAllDetails/detail_south_the_daily_news/93481
5. Lenny Holden Area Manager Securitas Thailand, “In House vs Out-sourced Security,” สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.securitas.co.th/globalassets/thailand/files/in-house-vs-out-sourced-security---0715.pdf
6. พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 มาตรา 3.
ธุรกิจรักษาความปลอดภัย หมายความว่า ธุรกิจที่มีการให้บริการรักษาความปลอดภัยโดยจัดให้มีพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาตทำหน้าที่คุ้มครองความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของบุคคล โดยได้รับเงินหรือประโยชน์ตอบแทนอื่นใด แต่ไม่รวมถึงการให้บริการรักษาความปลอดภัยโดยหน่วยงานของรัฐตามที่นายกรัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา
7. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, “บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญของร่างพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. … ,” สืบค้นเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2562, จาก https://library2.parliament.go.th/giventake/content_nla2557/d050758-02.pdf
8. พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 มาตรา 16.
9. พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 มาตรา 17 .
บริษัทซึ่งขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยต้อง
(1) มีจำนวนหุ้นที่ถือโดยบุคคลผู้มีสัญชาติไทยเกินกึ่งหนึ่งของทุนจดทะเบียนของบริษัทจำกัดหรือทุนชำระแล้วของบริษัทมหาชนจำกัด แล้วแต่กรณี
(2) มีกรรมการซึ่งเป็นบุคคลผู้มีสัญชาติไทยเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด ทั้งนี้ กรรมการทั้งหมดของบริษัทต้องไม่เคยเป็นกรรมการหรือผู้มีอำนาจจัดการแทนบริษัทที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย
(3) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย
10. อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 8.
11. พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 มาตรา 19.
12. พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 มาตรา 3.
พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตเป็นพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต
13. สภานิติบัญญัติ, “เอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. … (บรรจุระเบียบวาระการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 24/2558),”, สืบค้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://drmlib.parliament.go.th/site.php?mod=document&op=doc_poll&url=aHR0cDovL2RsLnBhcmxpYW1
lbnQuZ28udGgvYml0c3RyZWFtL2hhbmRsZS9saXJ0LzQyMzQ2Ni9hcG5sYTI1NTgtMDM5LnBkZj9zZXF1ZW5jZT0x&handle=423466&uid=0&target=download&ip=115.87.132.129&col_status=, น. 48.
14. Police Publication ฝ่ายสื่อพิมพ์, “สรุปสาระสำคัญของคำสั่ง หัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติที่ 67/2559 ที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยและพนักงานรักษาความปลอดภัย,” (ฉบับที่ 056 ประจำวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560,) สืบค้นเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2562, จาก https://saranitet.police.go.th/publication/?p=4271
15. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2520.
16. พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 มาตรา 4.
“การศึกษาภาคบังคับ” หมายความว่า การศึกษาชั้นปีที่หนึ่งถึงชั้นปีที่เก้าของการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
17. พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 มาตรา 73.
18. ระเบียบคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย ว่าด้วยมาตรฐานหลักสูตรการรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2560.
19. Private Security Industry Act 2007
20. Private Security Industry Act 2001
21. Private Security Industry Regulation Act 2001 (No.56 of 2001)
22. Security Industry Authority, “Licensable Roles,” สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2561, จาก https://www.sia.homeoffice.gov.uk/Pages/licensing-roles.aspx
เจ้าของธุรกิจ กรรมการ และพนักงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจจะต้องมีใบอนุญาตตามที่ The Security Industry Authority (SIA) กำหนด ดังนี้
1. Front line license เป็นใบอนุญาตที่ออกให้แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสัญญาให้บริการรักษาความปลอดภัย โดยจะออกให้แก่บุคคลที่ทำหน้าที่ที่มีลักษณะ ดังนี้
- เจ้าของธุรกิจ กรรมการบริษัท และหุ้นส่วนบริษัทที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำสัญญาในการจัดหาบริการรักษาความปลอดภัยให้แก่ลูกค้า
- พนักงานของบริษัทที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำสัญญาในการจัดหาบริการรักษาความปลอดภัยให้แก่ลูกค้า
2. Non front line license เป็นใบอนุญาตที่ออกให้แก่ผู้จัดการ ผู้ดูแล โดยใบอนุญาตรูปแบบนี้จะได้รับยกเว้นต้องผ่านการฝึกอบรมหรือการประเมินใด ๆ ของ SIA ซึ่งจะออกให้แก่บุคคลทำหน้าที่ที่มีลักษณะ ดังนี้
- บุคคลใดก็ตามที่มีหน้าที่จัดการ หรือดูแลลูกจ้างของบริษัทที่ให้บริการรักษาความปลอดภัย
- บุคคลใดก็ตามที่มีหน้าที่เป็นผู้จัดการ หรือผู้ดูแลพนักงานของธุรกิจให้บริการรักษาความปลอดภัย ที่ต้องทำงานตามคำสั่งหรือต้องปฏิบัติงานภายใต้กิจกรรมรักษาความปลอดภัยที่กำหนดไว้ เช่น ดูแลพนักงานทำหน้าที่รักษาความปลอดภัย หรือดูแลพนักงานที่จัดทำสัญญาในการจัดหาบริการรักษาความปลอดภัยให้แก่ลูกค้า
- กรรมการหรือหุ้นส่วนบริษัท ที่มีลูกจ้าง หรือหุ้นส่วนหรือกรรมการบริษัทคนอื่นทำหน้าที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยที่ต้องได้รับอนุญาต
23. Private Security Industry Regulation Act 2001 (No.56 of 2001) Section 20 (1).
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจให้บริการรักษาความปลอดภัย ดังต่อไปนี้ ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัยด้วย ภายใต้คุณสมบัติเดียวกับพนักงานรักษาความปลอดภัย
1. ถ้าบุคคลที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารหรือมีหน้าที่บริหารในส่วนที่เกี่ยวกับธุรกิจด้านความปลอดภัย จะต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัย และ
2. กรรมการทุกคนในบริษัท หุ้นส่วนทุกคนในห้างหุ้นส่วน หรือดำรงตำแหน่งอื่นที่มีลักษณะเช่นว่านั้น โดยบุคคลเหล่านี้ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัย
24. Private Security Industry Act 2007 section 2.
ผู้ควบคุมหน้าประตูร้าน (Bouncer) หมายถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถานบันเทิง หรือสถานที่อื่นที่คล้ายคลึงกัน และเป็นส่วนหนึ่งของหน้าที่ประจำ หรือการปฏิบัติหน้าที่ของเขา ในการทำหน้าที่ใด ๆ ดังต่อไปนี้ เพื่อค่าตอบแทน
(a) การตรวจคัดกรอง บุคคลที่ต้องการเข้า
(b) การควบคุมหรือการตรวจสอบพฤติกรรมของบุคคล
(c) การนำบุคคลออกไปด้วยเหตุผลด้านพฤติกรรม
25. Private Security Industry Act 2007 section 2.
การตรวจคัดกรอก (Screening) หมายถึง
(a) การค้นหาบุคคลหรือทรัพย์สินใด ๆ ที่มีอยู่ในครอบครองของบุคคลนั้นโดยใช้เครื่องมือที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการค้นหาโดยไม่ต้องสัมผัสกับบุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลนั้น แล้วแต่กรณี
(b) การค้นตัวในแต่ละบุคคลโดยดำเนินการใช้มือในการตรวจค้นอย่างรวดเร็วที่เสื้อผ้าด้านนอก และการตรวจสอบสิ่งของต่าง ๆ ที่บุคคลนั้นสวมใส่อยู่ หรือที่พกพาไว้อยู่ในแบบที่เหมาะสมและมีการนำออกให้ตรวจสอบจากความสมัครใจของแต่ละบุคคล หรือ
(c) การค้นหาทางกายภาพของทรัพย์สินส่วนบุคคลในการครอบครองของแต่ละบุคคล ที่ไม่ใช่ค้นหาจากเสื้อที่สวมใส่ของแต่ละบุคคล
26. Private Security Industry Act 2007 Section 13.
27. Security Industry Authority, “Manned Guarding,” สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2562, จาก https://www.sia.homeoffice.gov.uk/Pages/licensing-manned-guarding.aspx
28. Security Industry Authority, “Licensable Activities,” สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2561, จาก https://www.sia.homeoffice.gov.uk/Pages/licensing-activities.aspx
29. Security Industry Authority, “Events and SIA Licensing,” สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.sia.homeoffice.gov.uk/Pages/licensing-events.aspx
30. Security Industry Authority, “Security at Events Guidance June 2018,” สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2561, จาก https://www.sia.homeoffice.gov.uk/Documents/licensing/sia_security_at_events.pdf
31. Mpho Mofikoe, deputy director at PSiRA, “New security training standards for South Africa,” สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2561, จาก http://www.thorburn.co.za/wp-content/uploads/2016/10/New-industry-training-standards.pdf
32. Singapore workforce development agency (WDA), “Assessment Only Pathway (AOP) for Security WSQ modules,” สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2562, จาก https://www.police.gov.sg/~/media/spf/files/e-services/progressive%20wage%20model/4_security_pwm_aop_v2_aug.pdf
33. ระเบียบคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัยว่าด้วยกำหนดมาตรฐานหลักสูตรการรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2560
มาตรฐานหลักสูตรการรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน การเขียนรายงาน การเตรียมพร้อมกรณีเหตุฉุกเฉิน การติดต่อสื่อสาร หลักการใช้กำลัง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การจัดการจราจร และการฝึกภาคสนาม