ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความเป็นนิติบุคคลของจังหวัด
Main Article Content
Abstract
This article studied the legal problems of provincial juristic persons by studying the concept of being a state juristic person as a public juristic person administering state legal system affairs. Data on provincial juristic person legal development was gathered from Thai and foreign books, documents, theses to understand reasons for attributing provincial legal status, how it works and affects the provincial administration system. Insofar as the Thai state is not an internal legal system public juristic person, holders of legal rights and duties are attached to the state organization. Administrative efficiency results from constitutional encouragement of an integrated provincial administration system. Provinces may prepare budget requests themselves and enact laws, increasing powers of provincial governors. However, in practical terms, provinces cannot oversee areas because juristic person issues lead to administrative legal problems, in which the central authority reserves the right to not delegate powers to the provincial governor and establish a regional central authority. Many factors affect provincial administration unity: personnel management system problems, ununified budget system, and regional, local, and central overlap. It has been suggested that to certify the status of a state public juristic person in the internal legal system, the provincial juristic person should be abolished by repealing the provision certifying the provincial status and increasing public administrative efficiency by enacting laws attributing total regional power to provincial governors, according to the principle of delegating powers to the governor as main actor. Limitations on power are exceptional, by reviewing or changing regional central government agency structure into provincial administrations or transferring them to local authorities and allocating relevant areas to the integrated area and regional provincial group. Clear rules should be set for overseeing powers and duties of state and local government organizations, to give provinces the status abiding by administrative law, while effectively managing and integrating all sectors. This would result in provincial administrations linking government policies and genuinely responding to the needs of citizens locally and regionally.
Keywords: Juristic person, Integrated Provincial, Delegation.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
หนังสือ
ชัยอนันต์ สมุทวณิช, งบประมาณจังหวัด (มาสเตอร์เพลส 2537).
ชาญชัย แสวงศักดิ์, รัฐและนิติบุคคลมหาชน (วิญญูชน 2561).
ชำนาญ ยุวบูรณ์, การรวมอำนาจและการกระจายอำนาจทางปกครองของกฎหมายไทย : หนังสืออนุสรณ์ในงาน
พระราชทานเพลิงศพ นายส่ง ยุวบูรณ์ (โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น 2503).
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, กฎหมายมหาชน เล่ม 2 การแบ่งแยกกฎหมายมหาชน-เอกชนและพัฒนาการกฎหมายมหาชน
ในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 4 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548).
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2495 มาตรา 32 และมาตรา 37.
ร.แลงกาต์, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย เล่ม 1 (สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช 2526).
--, ‘ความรับผิดร่วมกันในประเทศสยาม’ ใน ร.แลงกาต์ กับไทยศึกษารวมบทความแปลและบทความศึกษา
ผลงาน (บุตรี สุวรรณะบุณย์ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ร่วมกับ ศูนย์ข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย
ฝรั่งเศส-ไทยศึกษา 2548).
วินัย พงศ์ศรีเพียร, ‘กฎหมายโจรห้าเส้น จุลศักราช 1199 ว่าด้วยการรักษาความสงบเรียบร้อยของชุมชน’ 100
เอกสารสำคัญ:สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 11.
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, ‘1 ปี CEO ผลการดำเนินงานในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการประจำปี
’ (2548).
ภาษาต่างประเทศ
Maurice Hariou, Principes de droit constitutionnel, (Precis de droit constitutionnel, ed.Sirey, 2ed.,
.
บทความวารสาร
โภคิน พลกุล, ‘นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน’ (2528) 33 รัฐสภาสาร, 14.
เอกสารอื่น ๆ
เอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล, เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา น.734 กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 1 เรื่อง
หลักการรวมอำนาจทางปกครองและหลักการกระจายอำนาจทางปกครอง (คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2561).
สุรพล นิติไกรพจน์, ‘หลักการรวมอำนาจทางปกครองและหลักการกระจายอำนาจทางปกครอง’ เอกสารการบรรยาย
วิชา น.734 กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 1 (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2561).
งานวิจัย
สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ, ‘โครงการศึกษาความเป็นไปในการลดสภาพความเป็นนิติบุคคลของส่วนราชการ’
(คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 2547).