การตีความการแสดงเจตนา: ศึกษาช่วงการก่อนิติกรรม

Main Article Content

วิวัฒน์ กอสัมพันธ์

Abstract

บทความนี้มุ่งศึกษาการตีความการแสดงเจตนาในช่วงเวลาของการก่อนิติกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 171 เพื่อพิจารณาว่า การแสดงเจตนานั้นควรตีความเมื่อใด มีวิธีการตีความการแสดงเจตนาอย่างไร เจตนาที่แท้จริงนั้นคือเจตนาใด และมาตรา 171 มีความสัมพันธ์กับการแสดงเจตนาบกพร่อง (มาตรา 154 กับมาตรา 156) อย่างไร


บทความนี้จะศึกษาเชิงกฎหมายเปรียบเทียบกับกฎหมายเยอรมันและกฎหมายสกอต เพื่อวิเคราะห์และหาข้อสรุปในประเด็นดังกล่าว


จากการศึกษา พบว่ากฎหมายเยอรมันและกฎหมายสกอตมีความเห็นที่แตกต่างกันเรื่องเวลาในการตีความ ส่วนวิธีการตีความนั้นมีเหมือนกัน โดยเจตนาที่แท้จริงคือเจตนาในใจ และในเรื่องความสัมพันธ์ของเจตนาบกพร่องกับการตีความการแสดงเจตนานั้นเป็นไปในลักษณะที่เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด


ผู้เขียนจึงเสนอว่า การตีความการแสดงเจตนาช่วงการก่อนิติกรรมควรต้องตีความการแสดงเจตนาประกอบพฤติการณ์แวดล้อมเสมอ โดยวิธีการตีความการแสดงเจตนาจะมีแบบอัตวิสัยที่คุ้มครองผู้แสดงเจตนากับแบบภาวะวิสัยที่คุ้มครองผู้รับการแสดงเจตนาหรือคู่กรณี ซึ่งเจตนาที่แท้จริงอาจจะเป็นเจตนาในใจหรือแสดงออกก็ได้ตามวิธีการตีความ ซึ่งมาตรา 171 มีลักษณะเป็นบททั่วไปของมาตรา 154 นอกจากนี้ มาตรา 171 อาจจะถูกพิจารณาก่อนมาตรา 156 และมีลักษณะที่เป็นบทหลักของมาตรา 156 ในกรณีการตีความแบบภาวะวิสัย  

Article Details

Section
Articles

References

ไม่ปรากฎชื่อผู้แต่ง, ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระพุทธศักราช 2466 บรรพ 1 และ 2 (พาณิชศุภผล 2466).

กรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง, นิติกรรม สัญญา และคำมั่น (โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2565).

เข็มชัย ชุติวงศ์ และบวรศักดิ์ อุวรรณโณ, คำบรรยายกฎหมายว่าด้วยนิติกรรมสัญญา (มปพ. 2526).

จิ๊ด เศรษฐบุตร, หลักกฎหมายแพ่งลักษณะนิติกรรมและสัญญา (ดาราพร ถิระวัฒน์ ผู้แก้ไขเพิ่มเติม, พิมพ์ครั้งที่ 7, โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2556).

จิตติ ติงศภัทิย์, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรียงมาตรา ว่าด้วยสัญญา บรรพ 2 มาตรา 354-394 (ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์ ผู้ปรับปรุง, กองทุนศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์ 2552).

จินดาภิรมย์ฯ, พระยา มานวราชเสวี, พระยา และเทพวิทุรฯ, พระยา คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 (โสภณพิพรรฒธนากร 2467).

ไชยยศ เหมะรัชตะ, กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 4, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548).

ดาราพร ถิระวัฒน์, ‘การตีความกฎหมายเอกชน: สัญญาสำเร็จรูป’ ใน กองทุนศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์ (บรรณาธิการ) การใช้การตีความกฎหมาย (พิมพ์ครั้งที่ 4, วิญญูชน 2563).

เทพวิทุร, พระยา คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เรียงมาตราว่าด้วยนิติกรรม ระยะเวลาอายุความ (กำชัย จงจักรพันธ์ ผู้แก้ไขปรับปรุง, เดือนตุลา 2556).

ธนกฤต วรธนัชชากุล และคณะ, ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ฉบับอ้างอิง บรรพ 1 หลักทั่วไป มาตรา 1-193/35: ตัวบท เอกสารอ้างอิงและคำพิพากษาศาลฎีกา เรียงมาตรา (พิมพ์ครั้งที่ 2, วิญญูชน 2560).

ปันโน สุขทรรศนีย์, ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา, (โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2514).

ประกอบ หุตะสิงห์, กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา, (นิติบรรณการ 2518).

ประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์), หลวง บันทึกข้อความสำคัญประกอบด้วยอุทาหรณ์และคำแนะนำแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 (นิติสาส์น 2471).

พวงผกา บุญโสภาคย์ และประสาน บุญโสภาคย์, กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 12, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2548).

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ 1 จุลศักราช 166 พิมพ์ตามฉบับหลวง ตรา 3 ดวง เล่ม 2 (มธก. 2482).

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ประมวลสาระชุดวิชากฎหมายแพ่ง ลักษณะสัญญา และลักษณะละเมิด และหลักกฎหมายเปรียบเทียบชั้นสูง = Contract Law, Tort Law, and Advanced Comparative Law: ประมวลสาระชุดวิชา หน่วยที่ 5, 6, 9, 12 สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2552).

มานวราชเสวี, พระยา หนังสือที่ระลึกครบรอบ 100 ปี พระยามานวราชเสวี (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2533).

โรแบรต์ แลงกาต์, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และวิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์ บรรณาธิการ, พิมพ์ครั้งที่ 3, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2553).

วิริยะ เกิดศิริ, นิติกรรม สัญญา และหนี้ (โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2517).

ศักดิ์ สนองชาติ, คำอธิบายนิติกรรมและสัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 11, นิติบรรณการ 2557).

ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์, คำอธิบายนิติกรรม-สัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 24, วิญญูชน 2564).

ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์, อธิบายศัพท์นิติกรรม-สัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 6, วิญญูชน 2564).

สารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์), หลวง คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (เรียงมาตราจบบรรพ 1) (ตงฮั้วมิ่งป่อ 2467).

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 (สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2534).

สุปัน พูลพัฒน์, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา (ศูนย์การพิมพ์ 2515).

เสริม วินิจฉัยกุล, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะนิติกรรมและหนี้ (กรมสรรพสามิต 2515).

เสนีย์ ปราโมช, ม.ร.ว. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม 1 (ภาค ๑-๒) (มุนินทร์ พงศาปาน ผู้แก้ไขปรับปรุง, พิมพ์ครั้งที่ 4, วิญญูชน 2561).

แสวง บุญเฉลิมวิภาส และอติรุจ ตันบุญเจริญ, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (พิมพ์ครั้งที่ 19, วิญญูชน 2563).

หยุด แสงอุทัย, กฎหมายแพ่งลักษณะมูลหนี้หนึ่ง (โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2517).

อักขราทร จุฬารัตน, คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 5, โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2531).

อัครวิทย์ สุมาวงศ์, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมสัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 9, เนติบัณฑิตยสภา 2557).

อนุมัติ ใจสมุทร, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรม (สมาคมสังคมศาสตร์ 2510).

Ahmet Cemil Yildirim, Interpretation of Contracts in Comparative and Uniform Law (Wolters Kluwer 2019).

Arthur Hartkamp and others (eds), Towards a European Civil Code (4th revised edn, Wolters Kluwer 2011).

Basil Markesinis, Hannes Unberath and Angus Johnston, The German Law of Contract: A Comparative Treatise (2nd edn, Hart Publishing 2006).

David M Walker, The Law of Contracts and related obligations in Scotland (2nd edn, Butterworths 1985).

Felix Thiede, ‘German Private Law’s Approach to Intentionality’ in Gottfried Seebaß, Michael Schmitz and Peter M Gollwitzer (eds) Acting Intentionally and Its Limits: Individuals, Groups, Institutions (De Gruyter 2013).

Gerhard Dannemann and Reiner Schulze, German Civil Code Volume I: Bürgerliches Gesetzbuch (BGB): Article-by-Article Commentary (C H Beck 2020).

Gerhard Dannemann and Stefan Vogenauer (eds), The Common European Sales Law in Context: Interactions with English and German Law (Oxford University Press 2013).

Grzegorz Zmij and Bettina Heiderhoff (eds), Interpretation in Polish, German and European Private Law (Verlag Dr Otto Schmidt 2011).

Hector L MacQueen and Joe Thomson, MacQueen and Thomson on Contract Law in Scotland (5th edn, Bloomsbury 2021).

Hugh Beale and others (eds), Cases, Materials and Text on Contract Law (3rd edn, Hart Publishing 2019).

Jochim Zekoll and Gerhad Wagner, Introduction to German Law (3rd edn, Wolters Kluwer 2019).

Konrad Zweigert and Hein Kötz, An Introduction to Comparative Law (Tony Weir tr, 3rd edn, Clarendon Press 1998).

Nigel Foster and Satish Sule, German Legal System and Laws (4th edn, Oxford University Press 2010).

Reinhard Zimmermann, The Law of Obligations: Roman Foundations of the Civilian Tradition (Oxford University Press 1996).

Stephen Wollman and Gillian Black, Woolman and Black on contract (6th edn, W Green 2018).

William W McBryde, The Law of Contract in Scotland (3rd edn, W Green 2007).

Yvonne McLaren and Josephine Bisacre (eds), Commercial Law in a Global Context (Goodfellow Publishers 2016).

กรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง, ‘ระบบกฎหมายสก็อต’ (2552) 3 วารสารนิติศาสตร์ 198.

เฉลิมวุฒิ ศรีพรหม, ‘หลักการตีความสัญญา’ (2559) 2 บทบัณฑิตย์ 54.

สารสาสน์ประพันธ์, พระ ‘การตีความ’ (2483) 3 นิติสาส์นแผนกสามัญ 235.

กิตติศักดิ์ ปรกติ, ‘เอกสารประกอบการศึกษาวิชากฎหมายลักษณะนิติกรรมสัญญา (น. ๑๐๑)’ <http://www.law.tu.ac.th/teacher/kittisak-prokati/> สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2563.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2038/2519 <http://deka.supremecourt.or.th/> สืบค้นเมื่อ 7 มกราคม 2564.

วิวัฒน์ กอสัมพันธ์ และกรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง (ผู้สรุปและผู้เรียบเรียง), ‘สรุปสาระสำคัญจากสัมมนาวิชาการหัวข้อการตีความการแสดงเจตนาและการตีความสัญญา’ (lawtu.ac.th, 7 เมษายน 2565) <https://www.law.tu.ac.th/seminar-summary-interpretation/> สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2565.

สุรศักดิ์ มณีศร, ‘การตีความการแสดงเจตนาและการตีความสัญญา’ (เสวนา, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 7 เมษายน 2565).

BAG, 20.07.2004 - 9 AZR 626/03 จาก <https://lexetius.com/2004,1998> สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565.

BGH, judgment of 19.12.2001 - XII ZR 281/99 จาก <https://openjur.de/u/64075.html> สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565.

BGH, judgment of 22.11.2007 - III ZR 279/06 จาก<https://openjur.de/u/76602.html> สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565.

Federal Ministry of Justice (tr), ‘The German Civil Code (Bürgerlichen Gesetzbuches- BGB)’ <https://www.gesetze-im-internet.de/englisch_bgb/englisch_bgb.html> สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2563.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 527/2506 (เนติบัณฑิตยสภา) 3: 1039-1045.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1707/2523 (เนติบัณฑิตยสภา) 7: 1142-1145.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 321-322/2538 (สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ) 3: 51-54.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6886/2542 (สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ) 10: 191-198.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6563/2545 (เนติบัณฑิตยสภา) 12: 2478-2483.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 679/2547 (สำนักงานศาลยุติธรรม) 7: 27-31.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10421/2551 (เนติบัณฑิตยสภา) 12: 2398-2403.

กรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง, ‘รวมข้อสอบวิชากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา น.101 ผศ.ดร.กรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง’.

กรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง, ‘ข้อสอบความรู้ชั้นปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ภาคปกติ) น.101 กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา ปลายภาค 2/2563 กลุ่ม ผศ.ดร.กรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง อ.กิตติภพ วังคำ’.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ม.สคก. ม้วนที่ 3/5 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ‘รายงานประชุมกรรมการร่างกฎหมาย วันที่ 25 พฤษภาคม 2468’.

Korrasut Khopuangklang, ‘A Critical Analysis of Promise in Scots Law and Thai Law’ (PhD Thesis, TheUniversity of Edinburgh 2016).

The Scottish Law Commission, ‘Constitution and Proof of Voluntary Obligations: Unilateral Promise’ (Memorandum no.35 1977).

The Scottish Law Commission, ‘Review of Contract Law: Discussion Paper on Interpretation of Contract’ Scot Law Com No.147, (The Stationery Office 2011).

The Scottish Law Commission, ‘Report on Review of Contract Law: Formation, Interpretation, Remedies for Breach, and Penalty

Clauses’ Scot Law Com No.252, (The Stationery Office 2018).