ปัจจัยสำคัญอันมีอิทธิพลต่อการจัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ในส่วนที่เกี่ยวกับการสมรส

Main Article Content

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์

Abstract

กฎหมายครอบครัวเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ส่วนตัวระหว่างสมาชิกในครอบครัวรวมถึงคู่สมรสด้วย และยังเป็นที่รู้จักในฐานะกฎหมายที่มีพัฒนาการมาจากวัฒนธรรมประเพณี ด้วยเหตุนี้ เมื่อมีการจัดทำและแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายครอบครัว จะมีข้อโต้แย้งจากฝ่ายอนุรักษ์นิยมให้เน้นย้ำถึงความเป็นจารีตประเพณีของกฎหมายครอบครัวและเรียกร้องให้ฝ่ายนิติบัญญัติจะต้องสงวนรักษาจารีตประเพณีท้องถิ่น และไม่นำเข้าหลักการจากต่างประเทศเข้ามาในกฎหมาย แม้ว่าประเพณีควรพัฒนาตามยุคสมัยและมีพลวัตร บทความฉบับนี้จะนำเสนอปัจจัยสำคัญอันนำไปสู่การจัดทำกฎหมายครอบครัวสมัยใหม่ของไทยในชื่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 โดยศึกษาในทางประวัติศาสตร์

Article Details

Section
Articles

References

บรรณานุกรม

เอกสารตำรา

ภาษาไทย

ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์, เมื่อผู้หญิงคิดจะมีหนวด การต่อสู้ "ความจริง" ของเรื่องเพศในสภาผู้แทนราษฎร (พิมพ์ครั้งที่ 2,

โครงการจัดพิมพ์คบไฟ 2549).

ชาติชาย อัครวิบูลย์และสมบูรณ์ ชัยเดชสุริยะ, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัว

(ที่ได้ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2519) ( โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2521).

ซิมง เดอ ลาลูแบร์, จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม (พิมพ์ครั้งที่ 5, ศรีปัญญา 2565).

ทองเปลว ชลภูมิ์ และ คณะ, คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 (ครอบครัว) (โรงพิมพ์อักษรนิติ์,

.

ประสพสุข บุญเดช, คำอธิบายกฎหมายครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่ 24, เนติบัณฑิตยสภา 2562).

พลางกูรธรรมพิจัย, พระยา, คำบรรยายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัวและมฤดก (มหาวิทยาลัยวิชา

ธรรมศาสตร์และการเมือง 2482).

พิศลยสารนิติ, หลวง, ว่าด้วยผัวเมีย (โรงพิมพ์เจริญผล 2456).

พูนสุข เวชวิฐาน, ทฤษฎีครอบครัวเบื้องต้น (ภาพพิมพ์ 2557).

โพยม เลขยานนท์, คำบรรยาย วิชาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัว (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร์ 2514).

ไพโรจน์ กัมพูสิริ, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่ 9, วิญญูชน 2560).

มาลี พฤกษพงศาวลี, ย้อนรอยสิทธิความเป็นคนของผู้หญิง (สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 2551).

มาลี พฤกษพงศาวลี, สิทธิความเป็นคนของผู้หญิง พันธกรณีระหว่างประเทศ กฎหมายและข้อถกเถียง (สำนักงาน

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2552.

ร. แลงกาต์, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2553).

รัศฎา เอกบุตร, กฎหมายครอบครัวเบื้องต้น (วิญญูชน 2540).

ราชบุรีดิเรกฤทธิ์, พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวง, เล็กเชอร์ของพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร 2468).

รามบัณฑิตสิทธิเศรณี, พระยา, กฎหมายผัวเมีย (พิมพ์ครั้งที่ 4, โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ 2473).

วรภักดิ์พิบูลย์, พระ, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2512).

วารี นาสกุล และ เบญจวรรณ ธรรมรัตน์, กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วย ครอบครัว (พลสยาม พริ้นติ้ง (ประเทศไทย) 2554).

ศริ มลิลา, คำบรรยายวิชาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย ครอบครัว (โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2516).

สอาด นาวีเจริญ, คำบรรยายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัว (แสงทองการพิมพ์ 2510).

สุพัตรา สุภาพ, สังคมวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 15, ไทยวัฒนาพานิช 2531).

เสนีย์ ปราโมช, ม.ร.ว., กฎหมายสมัยอยุธยา (พิมพ์ครั้งที่ 2, วิญญูชน 2559).

เสนีย์ ปราโมช, ม.ร.ว., ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัว มฤดก (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2508).

เสริม วินิจฉัยกุล, กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัว (มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง 2492).

แสวง บุญเฉลิมวิภาส และ อติรุจ ตันบุญเจริญ, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (พิมพ์ครั้งที่ 18, วิญญูชน 2562).

อุกฤษ มงคลนาวิน, ประวัติศาสตร์กฎหมายสากล (บพิธจำกัดแผนกการพิมพ์ 2513).

ภาษาต่างประเทศ

Jan M. Smiths, Advanced Introduction to Private Law (Edward Elgar 2017).

Jean Carbonnier, Droit civil Tome 2 (16e edition, Presses Universitaires de France 1993).

Marcel Planiol, Traite pratique de droit civil francais (2e edition, Librairie generale de droit et de

jurisprudence 1952).

Max Rheinstein and Mary Ann Glendon, International Encyclopedia of Comparative Law, Volume 4

Persons and Family, Chapter 1 Introduction (J.C.B. Mohr (Paul Siebeck) 1974).

Viktor Knapp, International Encyclopedia of Comparative Law, Volume 1 “T” (J.C.B. Mohr (Paul Siebeck)

.

วิทยานิพนธ์

ภาษาไทย

จิตติมา พรอรุณ, ‘การเรียกร้องสิทธิสตรีในสังคมไทย พ.ศ. 2489-2519’ (วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2538).

ชวเลิศ โสภณวัต, ‘ความเป็นบิดามารดาและบุตร’ (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

.

พรรคดี ผกากรอง, ‘การจัดร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แห่งสยาม: พ.ศ. 2451-2478’ (วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2537).

ภาวินี บุนนาค, ‘ผู้หญิงในกระบวนการยุติธรรมในสังคมไทย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

จนถึง พ.ศ. 2478 : ศึกษาจากคดีความและฎีกา’ (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554).

สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ, ‘ผัวเดียวเมียเดียว” ในสังคมไทยสมัยใหม่จากทศวรรษ 2410 ถึงทศวรรษ 2480’ (วิทยานิพนธ์

ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556).

อิรภัทร สุริยพันธุ์, ‘มโนทัศน์ เรื่อง "เมีย" ในสังคมไทย พ.ศ.2394-2478’ (วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552).

บทความ

ภาษาไทย

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์, ‘พัฒนาการของกฎหมายลักษณะครอบครัวในไทย’ (2565) 2 วารสารนิติศาสตร์ 470.

ไพโรจน์ กัมพูสิริ, ’60 กฎหมายครอบครัวไทย’ (2539) 2 วารสารนิติศาสตร์ 260

เอกสารหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

ภาษาไทย

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ม-สบ.2/31 กระทรวงมหาดไทยเห็นควรเลื่อนการใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม

กฎหมายลักษณผัวเมีย พ.ศ. 2473 (4-13 พฤศจิกายน 2474).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ม-สคก. /93 เรื่องร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะผัวเมีย ตอนที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้กรมร่างกฎหมายพิจารณาเรื่องจดทะเบียนผัวเมีย พร้อมทั้งฐานะเมียน้อย สินสมรส ฯลฯ แล้วร่างเป็นพระราชบัญญัติขึ้นใหม่ พ.ศ. 2471-2472 (14 พฤศจิกายน 2471-13 มีนาคม 2472).

เอกสารคณะกรรมการกฤษฎีกา

ภาษาไทย

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, CIVIL AND COMMERCIAL CODE: BOOK V FAMILY ARCHIVES VOL. VII

(pdf ม.ป.ป.)