อาชญากรรมรุกราน และปัญหาความชอบด้วยกฎหมายของ การป้องกันตนเองล่วงหน้าของรัฐ

Main Article Content

สุรวุฒิ อินทร์สำเภา

Abstract

บทความนี้มุ่งศึกษาปัญหาการกระทำของรัฐที่มีลักษณะเป็นการก่ออาชญากรรมรุกรานแต่รัฐอ้างสิทธิในการป้องกันตนเองล่วงหน้าเพื่อยกเว้นความรับผิดต่ออาชญากรรมรุกราน โดยการใช้สิทธิดังกล่าว รัฐอ้างว่าเป็นสิทธิที่อยู่ภายใต้การรับรองของกฎบัตรสหประชาชาติข้อ 51 ในฐานะ “สิทธิดั้งเดิมของรัฐ” ซึ่งมีรากฐานมาจากกรณี Caroline aff


ดังที่บัญญัติไว้ในข้อ 51 แห่งกฎบัตรสหประชาชาติ การป้องกันตนเองล่วงหน้าแตกต่างจากการป้องกันตนเองโดยทั่วไป กล่าวคือ รัฐสามารถใช้สิทธิดังกล่าวได้โดยลำพังในการใช้กำลังทางทหารเพื่อป้องกันตนเองจากรัฐผู้รุกรานเมื่อมีการโจมตีเกิดขึ้น (An armed attack occurs) ในกรณีการป้องกันตนเองแบบทั่วไป ในขณะที่การป้องกันตนเองล่วงหน้านั้นเป็นใช้กำลังทางทหารของรัฐโดยอ้างสิทธิในการป้องกันตนเองล่วงหน้าเพื่อโจมตีรัฐอันธพาลก่อนที่รัฐอันธพาลจะดำเนินการโจมตีหรือการรุกราน การป้องกันตนเองล่วงหน้าจึงมีเป้าประสงค์เพื่อกระทำต่อรัฐอันธพาลที่สร้างภยันตรายอันใกล้จะถึง (Imminent threat) โดยมีจุดประสงค์เพื่อปลดอาวุธหรือขจัดภัยคุกคามที่ใกล้จะถึงดังกล่าวก่อนที่รัฐอันธพาลจะได้ดำเนินการโจมตีครั้งแรก ซึ่งแม้ว่าการกระทำดังกล่าวมีลักษณะเป็นอาชญากรรมรุกรานตามความหมายของธรรมนูญกรุงโรมข้อ 8 Bis แต่รัฐเหล่านั้นก็หยิบยกการป้องกันตนเองล่วงหน้าดังกล่าวขึ้นอ้างเพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิด บทความนี้จึงมุ่งนำเสนอแนวคิดและวิเคราะห์ทางปฏิบัติของรัฐว่าสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศหรือไม่


 

Article Details

Section
Articles

References

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

ภาษาต่างประเทศ

Abram Chates, The legal case for U.S. Action on Cuba (Dep’T State Bull).

Abram Chates, Law and the Quarantine of Cuba (1963).

Abraham D. Sofaer, European Journal of International law (Oxford University press 2003).

Brunson MacChesney, Some Comments on the “Quarantine” of Cuba (1963)

Bruno Simma ed., The Charter Of The United Nations: A commentary (Oxford University press 1994).

Charles Pierson, Preemptive Self-Defense in an Age of Weapons of Mass Destruction: Operation Iraqi Freedom (Denver Journal of International Law & Policy 2004).

Craig Forcese, Destroying the Caroline: The Frontier Raid That Reshaped the Right to War (Irwin Law 2018)Francois Heisbourg, A Work in Progress: The Bush Doctrine and its Consequences (2003).

Daniel C. Maguire, The Horrors We Bless: Rethinking the Just-War Legacy (Fortress press 2007).

Daniel Webster Bowett, Self-Defense in international Law (Manchester Univ.press 1959).

D. Murphy, The Doctrine of Premptive Self-Defense (Villanova University 2005).

Eugene v. Rostow, Until What? Enforcement Action or Collective Self-Defense? (Cambridge University Press 1991).

John Langan, The element of St. Augustine’s Just war Theory (Blackwell Publishing Ltd 1984).

John kleiderer, Paula Minaert and Mark Mossa, Just war, lasting peace : what Christian Traditions can teach Us (ThriftBooks-Atlanta 2006).

L.P. Moore, History and Digest of the International Arbitrations to which the United States has been a party (Washington 1989).

Myres S. McDougal, The Soveit-Cuban Quarantine and Self-Defense (1963).

Patrick Kelly, ‘Preemptive Self-defense, Customary international Law, and the Congolese war’ (pdf, E-International Relations 2016).

Rex J. Zedalis, Prelininary Thoughts on some Unresolved Questions involving the Law of Anticipatory Self-Defense (J. INT’L 1998).

Ruth Wedgwood, The Enforcement of Security Council Resolution 687 : The Threat of Force against Iraq’s Weapons of Mass Destruction (Cambridge University Press 1998).

บทความวารสาร

ภาษาต่างประเทศ

Claude B. Mickelwait, ‘McDougal & Feliciano : Law And Minimum World Public Order’ (1961) 4 Michigan Law Review, 601.

Reisman, W. Michael, Andrea Armstrong, ‘The past and Future Claim of Preemptive Self-Defense’ (2006) 100 American journal of international law 525, 537.

บทความหนังสือพิมพ์

ภาษาต่างประเทศ

President John F. Kennedy, Radio and Television Report to the American People on the Soviet Arms Buildup in Cuba, 485 PUB. PAPERS 806, 807 (Oct 22, 1962).

วิทยานิพนธ์

ภาษาไทย

เต็มศิริ เอื้อวิเศษวัฒนา, ‘หลักความได้สัดส่วนในกฎหมายระหว่างประเทศในกรณีการใช้กำลังทางทหาร’ (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2556).

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

ภาษาต่างประเทศ

--‘Rome statue of the International Criminal Court’ International Criminal Court, <https://www.icc-cpi.int/sites/default/files/RS-Eng.pdf> สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2566

Adebayo Ola Afolaranmi, ‘Just War Theory’ (Academia) <https://www.academia.edu/35909777/Just_ war_pdf> สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2566.

‘British-American Diplomacy: The Caroline Case’, (Yale Law School LILLIAN GOLDMAN Law Library) <https://avalon.law.yale.edu/19th_century/br1842d.

asp?fbclid=IwAR23VN6QOs6JHI0eQP8VZVe5beeqrpEOBEgp9XiNc6IZewkfNRy6lXg1uqc> สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2567.

Mr.Fox to Mr. Forsyrth. February 6.1838, The American Presidency Project,

presidency.ucsb.edu/documents/special-message-4058?fbclid=IwAR1TN_vT-YHYnRf84CZHuUOcaz4gz8yQjkr9g0YY_nSiXDq12gAUJP3mMCQ> สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2567.

Nguyen Van Sang, ‘The Caroline affair and the diplomatic crisis between Great Britain and the United States 1837-1841’ (pdf.) 75. <https://www.researchgate.net/publication/331876937_The_ Caroline_Affair_and_the_Diplomatic_Crisis_between_Great_Britain_and_the_United_States_1837-1841> สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2567.

UNGA, The charter and judgment of the Nurnberg Tribunal History and analysis (1949) Doc A/CN.4/5.

The Cuban missile crisis October 1962, OFFICE of THE HISTORIAN, <https://history.state.gov/ milestones/1961-1968/cuban-missile-crisis> สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2566.