การประดิษฐ์ศิราภรณ์ประดับศีรษะนางอัปสราจากภาพจำหลักปราสาทขอม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง การประดิษฐ์ศิราภรณ์ประดับศีรษะนางอัปสราจากภาพจำหลักปราสาทขอม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศิราภรณ์ประดับศีรษะนางอัปสราในภาพจำหลักปราสาทขอมไทยและกัมพูชา และพัฒนาเป็นศิราภรณ์ประดับศีรษะนางอัปสรา พื้นที่ศึกษาคือ ภาพจำหลักนางอัปสราที่ปราสาทศีขรภูมิ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย และปราสาทนครวัด ประเทศกัมพูชา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนาโดยใช้เทคนิคการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ และนำเสนอข้อมูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
ศิลปากร, กรม. (2535). พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย : แหล่งรวมมรดกทางวัฒนธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง.
กฤษฎา พิณศรี. (2548). การศึกษาศิลปกรรมแบบเขมรในจังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์.
เครือจิต ศรีบุญนาค. (2550). การพัฒนาศิลปะการแสดงจากพิธีกรรมกินฮีตของชนเผ่าดั้งเดิมสายตระกูลมอญ-เขมรในเขตอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
เนาวรัตน์ เทพศิริ. (2539). เครื่องแต่งตัวชุดพระและนางของละครรำ. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กฤษฎา พิณศรี. (2548). การศึกษาศิลปกรรมแบบเขมรในจังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์.
เครือจิต ศรีบุญนาค. (2550). การพัฒนาศิลปะการแสดงจากพิธีกรรมกินฮีตของชนเผ่าดั้งเดิมสายตระกูลมอญ-เขมรในเขตอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
เนาวรัตน์ เทพศิริ. (2539). เครื่องแต่งตัวชุดพระและนางของละครรำ. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.