การพัฒนาศิลปะการแสดงจากนิทานกลอนลำเรื่องนางนกกระยางขาว ของหมอลำ ป. ฉลาดน้อย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาศิลปะการแสดงจากนิทานกลอนลำเรื่องนางนกกระยางขาว ของหมอลำ ป. ฉลาดน้อย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา องค์ประกอบ และคุณค่าของนิทานกลอนลำเรื่องนางนกกระยางขาวของหมอลำ ป. ฉลาดน้อย และเพื่อสร้างชุดการแสดงที่พัฒนาจากนิทานจากกลอนลำเรื่องนางนกกระยางขาว โดยใช้เทคนิควิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสังเกต การสัมภาษณ์ และการประชุมกลุ่มย่อย จากกลุ่มผู้รู้ กลุ่มศิลปิน และบุคคลทั่วไป ในอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี และนำเสนอข้อมูลโดยการพรรณนาวิเคราะห์
Article Details
How to Cite
เสนาพรหม ห., แขรัมย์ ป., & อัตไพบูลย์ ศ. (2018). การพัฒนาศิลปะการแสดงจากนิทานกลอนลำเรื่องนางนกกระยางขาว ของหมอลำ ป. ฉลาดน้อย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9(2), 20–28. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/humanjubru/article/view/161035
บท
บทความวิจัย
References
เจริญชัย ชนไพโรจน์. (2526). หมอลำหมอแคน. กรุงเทพฯ: อักษรสมัย.
พรทิพย์ ซังธาดา. (2539). วรรณกรรมท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ยศ ธสาร. (2530). “เงาของคนอีสาน.” แปลก, 13 (570),
โสภิตสุดา อนันตรักษ์. (2534). การวิเคราะห์ลำเรื่องต่อกลอน. กรุงเทพฯ: ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. สาขาภาษาไทย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
พรทิพย์ ซังธาดา. (2539). วรรณกรรมท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ยศ ธสาร. (2530). “เงาของคนอีสาน.” แปลก, 13 (570),
โสภิตสุดา อนันตรักษ์. (2534). การวิเคราะห์ลำเรื่องต่อกลอน. กรุงเทพฯ: ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. สาขาภาษาไทย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.