การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบนฐานบัญชคีรัวเรือน บ้านหมากยางเหนือ ตำบลเป๊าะ อำเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ Community learning by Participation in doing Household Accounting in Pao Sub-district Administrative Organization, Bungbun District, Sisaket
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบนฐานบัญชีครัวเรือน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเป๊าะ อำเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 20 ครัวเรือนชุมชนบ้านหมากยางเหนือ โดยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการแก้ปัญา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสำรวจข้อมูลความต้องการรับบริการทางวิชาการของชุมชน และแบบประเมินความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมการให้บริการ สถิติที่ใช้ คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการบัญชีบริหาร มีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 65 ทักษะด้านการบัญชีครัวเรือนเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับดีมาก โดยมีค่าระดับคะแนนเฉลี่ย 10.95 (2) ภาพรวมของชุมชนบ้านหมากยางเหนือ ซึ่งมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.50 ( =4.50,S.D.=0.65) (3) การมีส่วนร่วมระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลเป๊าะ อำเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นการพัฒนาระบบเครือข่ายการเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วม (4) กระบวนการถ่ายทอดสู่การเรียนรู้ การวิจัย และการบริการวิชาการมีความเหมาะสมกับสาขาวิชาการบัญชี
Article Details
References
มยุรี กิมง่วนสง. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดทำบัญชีครัวเรือนของเกษตรกรลูกค้าธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2556, จาก: http:tdc.thailis.or.th. มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. (2559). หลักสูตรบัญชีบัณฑิต ฉบับปรับปรุง. ศรีสระเกษ: คณะบริหารธุรกิจ. สุพรรณี ต้อนรับ. (2551). การทำบัญชีครัวเรือนของเกษตรกรลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2556, จาก http:tdc.thailis.or.th. สุเมธ ตันติเวชกุล. (2550). สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุน สนับสนุน อดุลย์ วรรณคำ. (2552). การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของ โรงเรียนภูวิทยาคม อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
Accounting Program Revision Edition. (2016). Accounting Program, Faculty of Business Adul Wannakham. (2009). Participatory Management in Surrounding Organization Conducing to Learning of Phu Sang Witthayakhom School, Phu Sang District, Phayao Province Mayuree Kim-nguansong. (2008). Factors Affecting Household Accounting Preparation of Bank of Agriculture Customers and Agricultural Cooperatives, Bang Nam Priao Branch, Chachoengsao Province. Retrieved 25 October 2013, from http: tdc.thailis.or.th Napaporn Likitwongkhachorn. (2007). Household Accounting: Tools to Sufficiency Economy. Journal of the Academic Service Center, Khonkaen University Pattra Ruengsinpinya. (2009). Behavior of Personal Income and Expenditure Record of Students and Personnel of Phetchaburi Rajabhat University. Management Science Journal, Phetchaburi University, 1, 69-74. Prawet Wasi. (2007). Sufficiency Economy and Civil Society. Bangkok: Mor Chao Ban. Sumet Tantiwechakul. (2007). Knowledge Synthesis of Sufficiency Economy. Bangkok: Support Fund Office Suphannee Tonrub. (2008). Household Accounting Preparation of Bank of Agriculture Customers and Agricultural Cooperatives in Chiang Mai Province. Retrieved 25 October 2013, from http: tdc.thailis.or.th