การสืบทอดและอนุรักษ์ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง ตำาบลดอนคา อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

Main Article Content

ณัฐพจน์ โพธิ์เจริญ
สุพรรณี เหลือบุญชู
ปัทมาวดี ชาญสุวรรณ

บทคัดย่อ

ดนตรีลาวเวียงเป็นอัตลักษณ์ประจ�ํากลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง และเป็นสิ่งที่
แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณีและความเชื่อดั้งเดิมตั้งแต่อดีตซึ่งมีความส�ําคัญและมีบทบาท
ในสังคมกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง มาจนถึงปัจจุบัน การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ
1) เพื่อศึกษาดนตรีของกลุ ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง ต�ําบลดอนคา อ�ําเภออู ่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี2) เพื่อศึกษาการสืบทอดและอนุรักษ์ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียงในต�ําบล
ดอนคาอ�ําเภออู่ทองจังหวัดสุพรรณบุรีผลการวิจัยพบว่าดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง
ต�ําบลดอนคา อ�ําเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีเดิมเป็นดนตรีพื้นบ้านเช่นเดียวกับอีสาน
แต ่เดิมมีแคนเป็นเครื่องดนตรีหลักกลุ ่มชาติพันธุ์ลาวเวียงได้สืบทอดดนตรีและได้
รับอิทธิพลจากสังคม วัฒนธรรมภายนอกเข้ามาสู่ภายใน และได้รับค่านิยมจากกลุ่ม
เพื่อนฝูงของคนรุ่นใหม่ขาดการสนับสนุนจากองค์กรท้องถิ่น บุคลากรผู้รู้ได้ลดน้อยลงไป
ท�ําให้ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียงเริ่มจางหายไปตามกาลเวลาด้านพิธีกรรมเป็น
พิธีกรรมผีฟ้าเป็นความเชื่อด้านการรักษาโรค คล้ายกับการทรงเจ้าโดยการบูชาผี
บรรพบุรุษการอนุรักษ์และการสืบทอดดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง ต�ําบลดอนคา
อ�ําเภออู่ทองจังหวัดสุพรรณบุรีมีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นโดยผ่านการสอนการบอกต่อกัน
ในเครือญาติมีการแสดงในกิจกรรมต่างๆการเล่นดนตรีในงานต่างๆและการแสดงโชว์
ให้นักท่องเที่ยวได้ชม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เจริญชัย ชนไพโรจน์. ดนตรีผู้ไทย. มหาสารคาม: ภาควิชาดุริยางคศาสตร์คณะมนุษย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม, 2526.

นิภาพรโชติสุดเสน่ห์. พระราหู : ภาพสะท้อนความกลมกลืนทางความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์
ลาวเวียง. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541.

บังอร ปิยะพันธุ์. ประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2541.

ภัททิยา ยิมเรวัต. ประวัติศาสตร์สิบสองจุไท. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สร้างสรรค์, 2540