วิเคราะห์ "พระนางพญา" ในยุคของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้ผู้วิจัยจุดมุ่งหมายที่จะเลือกวิเคราะห์พระเครื่องรางหรือพระเครื่อง ในยุคสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมหาราช ได้แก่ พระนางพญาพิมพ์เข่าโค้งพระนางพญา พิมพ์เข่าตรงพระนางพญาอกนูนใหญ่ พระนางพญาพิมพ์สังฆาฏิ โดยวิเคราะห์มูลเหตุ แห่งการสร้าง มวลสารที่ใช้สร้าง พุทธลักษณะ ก็พบว่าแต่ละพระเครื่องรางก็จะมีลักษณะเด่น เป็นเอกลักษณ์ประจ�าพิมพ์ ส่วนพระพุทธคุณโดยภาพรวมจะไม่ต่างกันนักเพราะมักจะเน้น ในเรื่องป้องกันภยันตรายท�าให้อยู่ยงคงกระพัน มีเมตตามหานิยม
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
ชาญวทิย์ เกษตรศริ.ิ อยธุยา. พมิพค์รงั้ที่ 6. กรงุเทพฯ: มลูนธิติ�าราสงัคมศาสตรแ์ละมนษุยศาสตร,์
2500.
ด�ารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. พระประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมหาราช.
กรุงเทพฯ: ศิลปะบรรณาคาร, 2544.
ธนากร บุญสุวรรโณ. พระเครื่องเมืองพิษณุโลก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ, 2553.
นพ ท่าพระจันทร์ (บรรณาธิการ). “วิธีพิจารณาพระกรุ” ใน หลักเซียนเล่ม 6. กรุงเทพฯ:
เอ็มซีบุ๊ค, 2535.
นิดา หงส์วิวัฒน์ (บรรณาธิการ). พระนางพญา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์แสงแดด,
2555.
บรรยง บญุฤทธ.ิ์ ตามรอยสมเดจ็พระนเรศวรมหาราชมหาราช. กรงุเทพฯ: อมเินทกรปุ๊, 2549.
พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. พระนเรศวรกู้แผ่นดิน. กรุงเทพฯ: ไพลินบุ๊คเน็ต จ�ากัด, 2544.
2500.
ด�ารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. พระประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมหาราช.
กรุงเทพฯ: ศิลปะบรรณาคาร, 2544.
ธนากร บุญสุวรรโณ. พระเครื่องเมืองพิษณุโลก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ, 2553.
นพ ท่าพระจันทร์ (บรรณาธิการ). “วิธีพิจารณาพระกรุ” ใน หลักเซียนเล่ม 6. กรุงเทพฯ:
เอ็มซีบุ๊ค, 2535.
นิดา หงส์วิวัฒน์ (บรรณาธิการ). พระนางพญา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์แสงแดด,
2555.
บรรยง บญุฤทธ.ิ์ ตามรอยสมเดจ็พระนเรศวรมหาราชมหาราช. กรงุเทพฯ: อมเินทกรปุ๊, 2549.
พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. พระนเรศวรกู้แผ่นดิน. กรุงเทพฯ: ไพลินบุ๊คเน็ต จ�ากัด, 2544.