การจัดสำเนียงย่อยของกลุ่มภาษาพวนในจังหวัดบันทายมีชัย และจังหวัดพระตะบองประเทศกัมพูชา*
Main Article Content
บทคัดย่อ
ภาษาพวนเป็นภาษาหนึ่งในภาษาไทสาขาตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งในประเทศไทย
ได้มีผู้ศึกษาไว้หลายพื้นที่และจัดได้เป็นหลายกลุ่มแต่ในบริเวณจังหวัดบันทายมีชัยและจังหวัด
พระตะบองประเทศกัมพูชายังไม่มีผู้ศึกษาไว้จึงเป็นพื้นที่ที่ควรศึกษางานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อศึกษาระบบเสียงภาษาพวนในพื้นที่ดังกล่าวแล้วน�ำมาจัดส�ำเนียงย่อยของกลุ่มภาษาพวน
จุดเก็บข้อมูลภาษาพวนมี11 หมู่บ้านเก็บข้อมูลจากผู้บอกภาษาหลักหมู่บ้านละ1คน และผู้บอก
ภาษารองหมู่บ้านละ 1 คน รวม 22 คน โดยใช้รายการค�ำศัพท์พื้นฐานจ�ำนวน 1,500 ค�ำ
เพื่อวิเคราะห์ระบบเสียงพยัญชนะและสระและใช้รายการค�ำศัพท์ส�ำหรับวิเคราะห์เสียง
วรรณยุกต์2 ชุด ชุดที่ 1 วิเคราะห์ด้วยการฟังเพื่อดูการแยกเสียงรวมเสียงวรรณยุกต์ชุดที่
2 วิเคราะห์ด้วยวิธีทางกลสัทศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์คือโปรแกรม Praat และ
Microsoft Excel ผลการวิจัยพบว่า ภาษาพวนในจังหวัดบันทายมีชัยและจังหวัดพระตะบอง
ประเทศกัมพูชาทั้ง 11 หมู่บ้าน มีระบบพยัญชนะและสระไม่แตกต่างกันกล่าวคือมีหน่วยเสียง
พยัญชนะต้นเดี่ยว 20 หน่วยเสียง ปรากฏเป็นพยัญชนะท้ายได้9 หน่วยเสียง ไม่มีหน่วยเสียง
พยัญชนะต้นควบกล�้ำมีหน่วยเสียงสระเดี่ยวจ�ำนวน 18 หน่วยเสียง หน่วยเสียงสระประสม
จ�ำนวน 3 หน่วยเสียงส่วนระบบเสียงวรรณยุกต์มีจ�ำนวน 6 หน่วยเสียงเหมือนกันทั้ง11 หมู่บ้าน
แต่มีระดับเสียงแตกต่างกันจึงสามารถน�ำมาจัดส�ำเนียงย่อยได้เป็น 4 ส�ำเนียง ผลการศึกษา
การจัดส�ำเนียงย่อยของกลุ่มภาษาพวนในครั้งนี้เมื่อน�ำไปประกอบกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์
สามารถที่จะสันนิษฐานได้ว่าชาวพวนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มเดียวกันและได้อพยพมาตั้งหลักแหล่ง
อยู่ในบริเวณนี้ในคราวเดียวกันในเวลาต่อมาต่างก็ได้แยกย้ายกระจายกันออกไปเป็นหลาย
หมู่บ้านและมีส�ำเนียงแตกต่างกันออกไป
Article Details
References
นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2528.
จารุวรรณ สุขปิติ. การศึกษาลักษณะของภาษาลาวพวนที่ต�ำบลหัวหว้าอ�ำเภอศรีมหาโพธิ์
จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2532.
ฉลอง อ�่ำเอี่ยม. ระบบเสียงภาษาพวนที่ต�ำบลหาดเสี้ยวอ�ำเภอศรีสัชนาลัยจังหวัดสุโขทัย.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล, 2529.
ชลดา สังวาลทรัพย์. การศึกษาลักษณะของภาษาลาวพวนที่ต�ำบลหนองแสงอ�ำเภอปากพลี
จังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2534.
ทัศไนยอารมณ์สุข.การศึกษาเปรียบเทียบเสียงของค�ำในภาษาพวนกับภาษาไทยมาตรฐาน.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2521.
ธนานันท์ตรงดี.“ค�ำเรียกสีของเงาะป่า(ซาไก) (Colorcategories inSakai)”.วารสารสงขลา
นครินทร์4, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2541) : 199-214.
ธีระ นุชเปี่ยม.“พระตะบอง”ในสารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่:เอเชียเล่ม 1 อักษร
A-B ฉบับฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2539.
บังอร ปิยะพันธุ์.ประวัติศาสตร์ของชุมชนลาวในหัวเมืองชั้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น.
วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529.
พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล.การเปลี่ยนแปลงของวรรณยุกต์ : กรณีศึกษาภาษากลุ่มลาว.
วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาภาษาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2546.
พุทธชาดโปธิปาลและธนานันท์ตรงดี.รายงานการวิจัยเรื่องสถานะของภาษาตากใบในภาษา
ไทถิ่นโครงการระยะที่ 2. ส�ำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขต
ปัตตานี, 2541.
รัชนีเสนีย์ศรีสันต์.การศึกษาเปรียบเทียบเสียงและระบบเสียงในภาษาลาวพวนมาบปลาเค้า
ของผู้พูดที่มีอายุต่างกัน.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2526.
รัชนีศรีสุวรรณ. ลักษณะภาษาไทยพวนที่จังหวัดสุพรรณบุรี.วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล,2536.
อุทัยวรรณ ตันหยง.วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ค�ำของคนสามระดับอายุในภาษาพวน.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2526.
Brown,J.Marvin.From Ancient Thai to Modern Dialects.Bangkok:SocialScience
Association Press, 1965.
Chambers,J.k.and PeterTrudgill .Dialectology. Cambridge: Cambridge University
Press, 1980.
Gedney, William J. A Checklist for Determining Tones inThai Dialects. InStudies
in Linguistics in Honor of GeorgeL. Trager, Edited by M.Estellie Smith.
TheHangue: Mouton, 1972. pp.423–437.
Khanit Tanan and Wilaiwan Wichienrot. The Influence of Siames on Five Lao
Dialects. Unpublished Ph.D. Dissertation, University of Michigan, 1973.
Li, FangKuei. A Hand book of Comparative Tai. Hawaii: University Press of
Hawii, 1977.
Tanprasert,Pornpen. A Language Classification of Phuan in Thailand : A Study
of the tone System. Ph.D. Dissertation (Linguistics). Faculty of Graduate
Studies. Mahidol University, 2003.
Tingsabadh, Kalaya. M.R. A Phonological Study of the Thai Language of
Suphanburi Province. Ph.D. Dissertation, University of London, 1980.
Schliesinger,Joachim. Ethnic Groups of Cambodia : 1 Introduction and Overview.
Bangkok: White Lotus Press, 2011.