แนวทางนโยบายการบริหารจัดการบุคคลไร้สัญชาติไทยเขตพื้นที่ จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

สุรพล ซาเสน
สัญญา เคณาภูมิ
ภักดี โพธิ์สิงห์
วัชรินทร์ สุทธิศัย

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเป็นมาและสภาพของบุคคล ไร้สัญชาติไทยเขตพ้ืนท่ีจังหวัดอุบลราชธานี 2) คุณภาพชีวิตของบุคคลไร้สัญชาติไทยเขตพ้ืนท่ี จังหวัดอุบลราชธานี 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงนโยบายบุคคลไร้สัญชาติไทย เขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและแหล่งข้อมูลได้แก่ 1) เจ้าหน้าที่ขององค์กรภาครัฐและองค์กร ภาคเอกชนจ�านวน 15 คน 2) บุคคลคนไร้สัญชาติจ�านวน 30 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลการจัดเวทีและการสังเกตสถานการณ์ในเขต พนื้ที่ 2) การเกบ็รวบรวมขอ้มลูภาคสนามใน 3 ลกัษณะไดแ้ก่ (1) ขอ้มลูจากการสงัเกตทลี่งพนื้ที่ (2) จดัเวทรีะดมสมองเพอื่ถอดบทเรยีนของบคุคลไรส้ญัชาตไิทยและเจา้หนา้ทขี่องรฐัและเอกชน ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องจ�านวน 2 คร้ัง และ (3) สัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มเป้าหมายท่ีก�าหนดการ วิเคราะห์ข้อมูลเป็นแบบวิธีพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเป็นมาและสภาพ ของบุคคลไร้สัญชาติไทยเขตพ้ืนท่ีจังหวัดอุบลราชธานีสามารถจ�าแนก 7 มิติ ได้แก่ (1) มิติ การเมืองสังคมและวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไร้สัญชาติ (2) มิติลักษณะของคนไร้สัญชาติ (3) มิติสงครามและความรุนแรงที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต (4) มิติลักษณะการรับรู้ในภาวการณ์ ไร้สัญชาติ (5) มิติกลไกและวิธีการด�าเนินชีวิตในรัฐไทย (6) มิติสงครามตัวแทนและอ�านาจรัฐ ท่ีส่งผลต่อการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน (7) มิติความช่วยเหลือและกลไกของรัฐไทย 2) คุณภาพชีวิตของบุคคลไร้สัญชาติไทยน�าเสนอใน 6 ลักษณะดังน้ี (1) ขาดการส่งเสริม สนบัสนนุปจัจยัมลูฐานในด�ารงวถิชีวีติ (2) ขาดการมสีว่นรว่มดา้นความมนั่คงในรฐัไทย (3) ขาด การได้รับสิทธิ์บุคคลตามกลไกด้วยวิธีการของรัฐไทย (4) ขาดการได้รับการปฏิบัติตามหลักสิทธิ มนุษยชนและตามกฎหมายไทย (5) กฎหมายของรัฐไทยไม่เอ้ือต่อจัดการกับคนไร้สัญชาติ (6) ขาดเอกภาพในการด�าเนินการของรัฐไทยต่อบุคคลไร้สัญชาติ 3) แนวทางนโยบาย การบริหารจัดการบุคคลไร้สัญชาติไทยมีแนวทาง 5 ลักษณะดังน้ี (1) การจัดการสถานะและ สิทธิของคนไร้สัญชาติ (2) วิธีการให้สถานะท่ีถูกต้องแก่คนไร้สัญชาติ (3) การได้สถานะโดย หลักกฎหมายไทย (4) การให้สิทธิในสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ (5) รัฐบาลไทยกับ การรับรองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานแก่คนไร้สัญชาติ 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กุลพล พลวัน. พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน.กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์วิญญูชน, 2538. จลุชพี ชนิวรรโณ. “นโยบายตา่งประเทศของไทย:ภมูหิลงัและแนวโนม้ในอนาคต”. เอเชยีปรทิศัน ์ . 3 (เมษายน-มิถุนายน 2523) : ม.ป.น.

ชวลีย์ ณ ถลาง. เหตุการณ์ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2548. ชะวัชชัย ภาติณธุ. กระบวนการเรียนรู้และปฏิบัติการณ์สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: โอเดียน สโตร์, 2548.
ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์ และคนอื่น. “ประวัติศาสตร์แห่งชนชั้นและความเหลื่อมล�้าทางภาษา- วัฒนธรรมชนชาติพ้ืนเมืองในสังคมลุ่มแม่น้�าโขงตอนล่าง”. วารสารรัฐศาสตร์และ นิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์. 1, 1 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555) : 126-145.
เพ็ญนภา จันทร์แดง. “จอบิ” บุคคลไร้สัญชาติ : ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจากผลพวงการ สร้างรัฐไทยสมัยใหม่. โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2547.
ภรณี แก้วบวร. การเปล่ียนแปลงอัตลักษณ์ของแรงงานพม่าในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงราย หลังการรับส่ือ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง, 2555.
ยศ สันตสมบัติ. อ�านาจพื้นที่และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ : การเมือง วัฒนธรรมของรัฐชาติ ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน), 2551.

เลหล้า ตรีเอกานุกูล. การปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมไทยและผลกระทบของการถูกจ�ากัดสิทธิ์ ทมี่ตีอ่คณุภาพชวีติของบคุคลไรส้ญัชาตไิทยชาวไทยใหญจ่งัหวดัเชยีงราย. ปรชัญาดษุฎี บัณฑิต สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยรามค�าแหง, 2549.

สภาความมนั่คงแหง่ชาต.ิ ยทุธศาสตรก์ารจดัการปญัหาสถานะและสทิธขิองบคุคล. กรงุเทพฯ:
มติสภาความมั่นคงแห่งชาติเมื่อ 12 มกราคม 2548,
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 18 มกราคม 2548.

สัญญา เคณาภูมิ. “การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยวิธีการจัดการ ความรู้”. วารสารราชพฤกษ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 12, 1 (มกราคม- เมษายน 2557) : 1-14.

อรอนงค์ นอ้ยวงศ.์ กมัพชูานโยบายตา่งประเทศไทยสมยัพลเอกเปรม ตณิสลูานนท์. กรงุเทพฯ:
ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2541.

อนุชาติ พวงส�าลี. พลเมืองไทย ณ จุดเปลี่ยนศตวรรษ. กรุงเทพฯ: อรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์, 2543. อรรถ นนัทจกัร.์ ความรแู้ละมายาคตเิกยี่วกบักลมุ่ชาตพินัธ ์ุ“ลาวพวนผไู้ทลาวโซ”่. กรงุเทพฯ:
ส�านักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2546.

Ayten Gundogdu. Rightlessness in an Age of Rights : Hannah Arendt and
the Contemporary Predicament. Doctor of Philosophy, the Graduate School
of University of Minnesota, 2008.
Nadia Latif. In partitioned Territory : Kinship and Belonging in Palestinian Refugee Camp. Doctor of Philosophy in the Graduate School of Arts and
Sciences. Columbia University, 2010.
Sandee Pyne. Migrating Knowledge : Schooling , Statelessness and Safetyatthe
Thailand-Burma Border. Doctor of Philosophy, International Education
Policy Program, Education Policy and Leadership Department. University of
Maryland, 2007.