ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ต่อโปรแกรมสื่อความหมาย ทางธรรมชาติ ของอุทยานแห่งชาติผาแต้ม จ.อุบลราชธานี

Main Article Content

รฐา จันทวารา

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือศึกษารูปแบบและองค์ประกอบ ของโปรแกรมการสอื่ความหมายธรรมชาตขิองอทุยานแหง่ชาตผิาแตม้ 2 ) เพอื่ศกึษาความคาดหวงั ของนักท่องเท่ียว ในการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ และการใช้โปรแกรมการส่ือความหมาย ธรรมชาติ ของอุทยานแห่งชาติผาแต้ม และ 3) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ท่ีมีต่อการให้บริการส่ือความหมายธรรมชาติ ของอุทยานแห่งชาติผาแต้ม ซ่ึงผู้วิจัยใช้ระเบียบ วิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนักท่องเท่ียวชาวไทย ที่เดินทางมาท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติผาแต้ม จ�านวน 200 ชุด และน�าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยใชโ้ปรแกรมส�าเรจ็รปูทางสถติเิพอื่การวจิยั หาคา่รอ้ยละ คา่เฉลยี่ และสว่นเบยี่งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า อุทยานแห่งชาติผาแต้มมีรูปแบบของโปรแกรมการส่ือความหมายธรรมชาติ หลายหลายประเภทเพอื่ใหบ้รกิารนกัทอ่งเทยี่ว ไดแ้ก่ สอื่สงิ่พมิพ์ วดีทีศัน์ ศนูยบ์รกิารนกัทอ่งเทยี่ว ปา้ยใหข้อ้มลูทงั้ภายในและภายนอกอาคาร ปา้ยนทิรรศการ แผนที่ ปา้ยบอกทาง และเจา้หนา้ที่ น�าชม เจ้าหน้าท่ีเดินป่า ซ่ึงนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางมาท่องเท่ียวอุทยานแห่งชาติผาแต้ม ทราบขอ้มลูจากการบอกเลา่ โดยมคีวามคาดหวงัทจี่ะมาท�ากจิกรรมชมภาพเขยีนสแีละกจิกรรม เดนิปา่ มคีวามคาดหวงัทจี่ะใชบ้รกิารดา้นการสอื่ความหมายของอทุยานแหง่ชาตผิาแตม้ในดา้น สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ แผ่นพับ แผนที่ ป้ายบอกทาง และศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ซึ่งนักท่องเที่ยว มีความพึงพอใจต่อการให้บริการการส่ือความหมายของอุทยานแห่งชาติผาแต้ม ของส่ือ ประเภท แผ่นพับ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว วีดีทัศน์ ป้ายให้ข้อมูล โดยมีความพึงพอใจในด้าน เนอื้หา/สาระ อยใู่นระดบัมาก และมคีวามพงึพอใจในระดบัมากตอ่บคุลกิภาพและการแตง่กาย ของเจ้าหน้าผู้ให้บริการ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จรีวลัย์ ตอ่ศร.ี การศกึษาประเมนิความตอ้งการสงิ่อ�านวยความสะดวกดา้นการสอื่ความหมาย ของผู้มาพักสวนหลวง ร.9. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, 2543.
ดรรชนี เอมพันธุ์. เอกสารประกอบการเรียน วิขาหลักนันทนาการและการท่องเท่ียวทาง ธรรมชาติ. ภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2543.
รฐา จันทวารา และคณะ. แนวทางการยกระดับศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าและ คณุคา่ของการทอ่งเทยี่วจงัหวดัอบุลราชธาน.ี ส�านกังานกองทนุสนบัสนนุการวจิยั (สกว.),
2553.
วารัชต์ มัธยมบุรุษ. รูปแบบการท่องเที่ยว (ออนไลน์) 2557 (อ้างเมื่อ 10 กรกฎาคม 2558).
จาก https://tourismatbuu.wordpress.com ศุภสร วงศ์ใหญ่. กลยุทธ์การตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการเลือกมาเที่ยวที่อุทยาน แห่งชาติผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะ บริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2552.
สภุาพร ล�้าวรรณวงศ.์ ความคาดหวงัและความพงึพอใจของนกัทอ่งเทยี่วตอ่โปรแกรมการสอื่ ความหมายบริเวณเขตห้ามล่าพันธุ์สัตว์ป่าบึงฉวาก จ.สุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547.
สุรเชษฎ์ เชษฐมาส. เอกสารประกอบการสอนวิชาการวางแผนโครงการส่ือความหมาย ธรรมชาติ. ภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545.
สุรเชษฎ์ เชษฐมาส และสารัฐ รัตนะ. เอกสารประกอบการสอนเทคนิคการส่ือความหมาย สิ่งแวดล้อม. ภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2543. ส�านกับรหิารพนื้ทอี่นรุกัษท์ี่ 9. ขอ้มลูสถตินิกัทอ่งเทยี่วในเขตอทุยานแหง่ชาต ิจ.อบุลราชธานี
2557.
อรอนงค ์เฉยีบแหลม. การวเิคราะห์สงัคมพชืเพอื่ออกแบบการสอื่ความหมายธรรมชาตบิรเิวณ เส้นทางศกึษาธรรมชาตใินอทุยานแห่งชาตเิขาใหญ.่ วทิยานพินธ์วทิยาศาสตรมหาบณัฑติ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547.
Kotler, Phillip. Marketing Management. 11th ed. New Jersey: Prentice Hall, 2003.