ัฒนธรรมภาษาในการตั้งชื่อบ้านนามเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมร และไทยกูย ในต�ำบลดองก�ำเม็ด อ�ำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

รัตนดรุณ มณีเนตร
บุุญยงค์ เกศเทศ
กัลยา กุลสุวรรณ

บทคัดย่อ

ิทยานิพนธ์นี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นมาความหมายการเปลี่ยนแปลง และ
ความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมของชื่อบ้านนามเมืองของกลุ ่มชาติพันธุ์ไทยเขมรและไทยกูย
ในต�ำบลดองก�ำเม็ดอ�ำเภอขุขันธ์จังหวัดศรีสะเกษ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารและข้อมูลภาคสนาม
โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและปราชญ์ท้องถิ่น จ�ำนวน 11 หมู่บ้าน ๆละ3คน รวม 33คน
ตลอดจนน�ำหลักการทางภาษาศาสตร์๔ สาขา มาประยุกต์ใช้ในการวิจัย และน�ำเสนอผลการ
วิจัยโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัย พบว่า ชื่อบ้านนามเมืองทั้ง 57 ชื่อ มีความเป็นมา 3
ลักษณะ คือ 1) มีความเป็นมาเกี่ยวข้องกับภูมินิเวศ 30 ชื่อ ซึ่งมี3 ประเภท คือ เกี่ยวข้องกับ
ชื่อพืช ชื่อสัตว์และชื่อแหล่งน�้ำ 2) มีความเป็นมาเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์23 ชื่อ มี2
ประเภท คือ เกี่ยวข้องกับต�ำนาน และชื่อบุคคล 3) มีความเป็นมาเกี่ยวกับสิ่งอื่น 4 ชื่อ
มี2 ประเภท คือเกี่ยวข้องกับลักษณะการไหลของน�้ำ และทิศทางส่วนความหมายมี6ลักษณะ
คือ 1) มีความหมายเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม 25 ชื่อ มี2 ประเภท คือ เกี่ยวข้องกับชื่อพืช
และชื่อสัตว์2) เกี่ยวข้องกับชื่อบุคคลหรืออาการของคน 20ชื่อ3) เกี่ยวข้องกับแหล่งน�้ำ 7ชื่อ
4) เกี่ยวข้องกับอาชีพ 2 ชื่อ 5) เกี่ยวข้องกับทิศทาง 2 ชื่อ และ 6) เกี่ยวข้องกับสิ่งก่อสร้าง
พบเพียงชื่อเดียวส่วนการเปลี่ยนแปลงของชื่อบ้านนามเมือง พบว่ามี16ชื่อ มีการเปลี่ยนแปลง
ในด้านเสียง ด้านค�ำ และด้านความหมาย ส�ำหรับความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมของชื่อบ้านนาม
เมือง พบว่ามี4ลักษณะคือ1) มีความสัมพันธ์กับความเชื่อ28ชื่อ มี4 ประเภท คือความเชื่อ
ด้านสิ่งศักดิ์ต�ำนาน หรือเหตุการณ์ชื่อบุคคลเกี่ยวกับเครือญาติและทิศทาง 2) มีความสัมพันธ์
กับการตั้งถิ่นฐานตามต้นไม้21 ชื่อ มี4 ประเภท คือตั้งตามต้นไม้ที่มีจ�ำนวนมาก ตั้งตามต้นไม้
ที่มีลักษณะแปลกไปกว่าต้นไม้ชนิดอื่นในบริเวณนั้น และตั้งตามต้นไม้ขนาดใหญ่ 3) มีความ
สัมพันธ์กับการด�ำรงชีวิต มี7 ชื่อ และ 4) มีความสัมพันธ์กับการท�ำมาหากินพบเพียงชื่อเดียว
ซึ่งชื่อบ้านนามเมืองเหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นความเป็นมา ความหมาย การเปลี่ยนแปลง และ
ความสัมพันธ์ทางภาษาและวัฒนธรรมของทั้งสองกลุ่มชาติพันธุ์ได้เป็นอย่างด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ อารีย์พัฒนไพบูลย์. (2534). การวิเคราะห์ชื่อหมู่บ้านในเขตอำ เภอท่าบ่อจังหวัด
หนองคาย. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม).
กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.). ศรีสะเกษแดนปราสาทขอม เมืองดอกลำดวน. กรุงเทพฯ:
อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนพับลิชชิ่ง.
บุญยงค์ เกศเทศ. (2548). วิถีคิด วิธีเขียน. กรุงเทพฯ: หลักพิมพ์.
ปรัศนี ธำ รงโสตถิสกุล. (2550). การศึกษาชื่อหมู่บ้านในอำ เภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย.
(วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
พูล จิตรบิดร. (2521). การศึกษาประวัติของชื่อตำ บล หมู่บ้าน ในเขตอำ เภอพรรณนานิคม จังหวัด
สกลนคร. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร).
พูนศรี คัมภีร์ปกรณ์. (2520). ประวัติของชื่อตำ บล หมู่บ้าน ในเขตอำ เภอเมืองขอนแก่น จังหวัด
ขอนแก่น. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร).
มนตรี ศรีราชเลา. (2557). ชื่อบ้านนามเมือง : ความหมายการคงอยู่และการเปลี่ยนแปลงชื่อ
หมู่บ้านในจังหวัดมหาสารคาม. ค้นเมื่อ 1 กันยายน 2557, จาก https:// culturalscience.msu.ac.th/2012/download/E-SAN/16/18.pdf.
มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์. (2539–2540). การตั้งชื่อท้องที่ของไทย. วารสารอักษรศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร. 19(1-2), 114 - 120.
วนิดา ตรีสินธุรส. (2534). ชื่อบ้านนามเมืองในเขตอำ เภอโชคชัยจังหวัดนครราชสีมา. (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
วิบัณฑิตา ช่วยชูวงษ์. (2532). วัฒนธรรมภาษาชื่อหมู่บ้านในจังหวัดมหาสารคาม. (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร).
อภิศักดิ์ โสมอินทร์. (2525). ภูมิศาสตร์อีสาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศรีอนันต์.
อัมมร ธุระเจน. (2521). ประวัติของชื่อตำ บลและหมู่บ้านในอำ เภอเมือง นครศรีธรรมราช (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร).
Kanokwan Areepattanapaiboon. (1991). An Analysis of Village’s Name in Ta-BohDistrictofNongKhaiProvince.M.A. Thesis of Education, Mahasarakham Srinakharinwirot University.
Ministry of Education. (n.d.). Si Sa Ket: The city of Khmer Architecture and Lamduan Flower. Bangkok: Amarin Printing and Publishing.
Boonyong Kettet. (2005). How to think and How to write. Bangkok: Lakpim Publishing.
Prassani Dhamrongsotdhisakul. (2007). An Analysis of Village’s Name in Krailas
District of Sukhothai Province. M.A. Thesis, Kasetsart University.
Pool Chitbidorn. (1978). A Study of The History of Sub-Districts and Villages
in Pannanikhom District of Sokon Nakorn Province. M.A. Thesis of Education, Srinakharinwirot University.
Poonsri Khampipakorn. (1977). The History of Sub-Districts and Villages in Mueng
District of Kon Kaen Province. M.A. Thesis of Education, Srinakharinwirot
University.
Montri Srirajalao. (2014). The name of Villages and City : Meaning, Existence
and Chang of Village’s name in Masarakham Province. Retrieved from https://culturalscience.msu.ac.th/2012/download/E-SAN/16/18.pdf.
Wanida Trisindhurot. (1991). The name of Villages and City in Mahasarakham
Province. M.A. Thesis, Srinakharinwirot University.
Wibantita Chuaichoowong. (1984). Language Culture fir Naming of Villages in Mahasarakham Province. M.A. Thesis, Srinakharinwirot University. Apisak Som-In. Isan Geography.
Bangkok: Sri-ananta Publishing.
Ammorn Dhurajen. The History of Sub-District and Village name in Mueang
District of Nakonsridhamarat Province. M.A. Thesis of Education, Srinakharinwirot University