พุทธจริยศาสตร์ส�ำหรับบทบาทของมนุษยชาติ : กรณีศึกษา รัฐ-บ-ว-ร จังหวัดหนองคาย

Main Article Content

พระราชรัตนา ลงกรณ
สัญญา เคณาภูมิ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์จริยศาสตร์แนวพุทธส�ำหรับบทบาททางสังคม
ของมนุษยชาติ, เพื่อศึกษาความมีจริยธรรมแนวพุทธของพลเมือง โดยศึกษาพื้นที่จังหวัด
หนองคาย จ�ำแนกตามผู้มีบทบาท รัฐ-บ-ว-ร และค้นหาแนวทางการพัฒนาจริยธรรมแนวพุทธ
แหล่งข้อมูลประกอบด้วยเอกสารเกี่ยวกับปรัชญาสาขาจริยศาสตร์, ตัวแทนประชาชนที่อาศัย
อยู่ในเขตจังหวัดหนองคายโดยจ�ำแนกออกเป็น 4สถานภาพ ตามบทบาททางสังคม รัฐ-บ-ว-ร
จ�ำนวน 400 คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการส่งเสริมจริยธรรมจ�ำนวน 20 คน. การเก็บรวบรวม
ข้อมูลประกอบด้วยการวิเคราะห์เอกสาร, การศึกษาความมีจริยธรรมแนวพุทธของพลเมือง
โดยแบบสอบถาม และการค้นหาแนวทางการพัฒนาจริยธรรมแนวพุทธโดยวิธีการสัมภาษณ์
เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ
วิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) พุทธจริยศาสตร์มีจ�ำนวน 2 ระดับ ได้แก่ ระดับพื้นฐาน
ประกอบด้วยเบญจศีลและเบญจธรรม และระดับบทบาททางสังคม ประกอบด้วย(1)สถาบัน
ทางศาสนา ได้แก่ศีลสิกขา จิตสิกขา และ ปัญญาสิกขา (2) สถาบันรัฐได้แก่ หลักการครองตน
หลักการครองงาน หลักการครองคน และ หลักธรรมาภิบาล (3) สถาบันทางการศึกษา ได้แก่
ธรรมเทศกธรรมหลักตรวจสอบ กัลยาณมิตรธรรม ธรรมโลกบาล พรหมวิหารธรรม และ ลีลา
การสอน และ (4) สถาบันครอบครัว ได้แก่ หลักฆราวาสธรรม และหลักทิศ 6 2) พลเมือง
จังหวัดหนองคายมีจริยธรรมแนวพุทธจ�ำแนกตามบทบาท รัฐ-บ-ว-ร พบว่า เจ้าหน้าที่หรือ
ผู้บริหารภาครัฐและหัวหน้าครัวเรือนปฏิบัติตามจริยธรรมขั้นพื้นฐานและจริยธรรมตามบทบาท
ทางสังคมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดส่วนผู้น�ำทางศาสนาและครูหรือผู้บริหารสถานศึกษา
ปฏิบัติตามจริยธรรมขั้นพื้นฐานและจริยธรรมตามบทบาททางสังคมโดยรวมอยู่ในระดับมาก
และ 3) แนวทางการพัฒนาจริยธรรมแนวพุทธส�ำหรับพลเมืองตามบทบาท รัฐ-บ-ว-ร พบว่า
(1) ระดับนโยบายแห่งรัฐ : รัฐควรก�ำหนดนโยบายเป็นวารแห่งชาติเพื่อส่งเสริมให้ทุกสถาบันทางสังคมตระหนักและขับเคลื่อนเกี่ยวกับจริยธรรมของพลเมืองอย่างต่อเนื่อง (2) ระดับพื้นที่ :
หน่วยงานระดับภูมิภาคระดับท้องถิ่น และสถานบันการศึกษาเสนอแนวนโยบายและน�ำนโยบาย
การส่งเสริมจริยธรรมของพลเมืองไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง(3)ระดับการพัฒนาตนเอง: เจ้าของ
บทบาททางสังคมควรตระหนักในคุณค่าพัฒนา และรักษาจริยธรรมของตนเองจนกลายเป็น
แบบอย่างที่ดีส�ำหรับคนอื่นให้มั่นคงตลอดไป  

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ สุทธิพร. (2554) Aristotle Nicomachean Ethics. ใน ท่าพระจันทร์สห
วิทยาการปริทัศน์:รวมบทความและข้อเขียนของนักศึกษาโครงการปริญญาเอกสหวิทยาการ
วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2558, จาก https://
tpir53.blogspot.com/2011/02/ aristotle-nicomachean-Ethics_07.html
นิเวศน์วงศ์สุวรรณ. (2550). จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
พระเทพเวที(ประยุทธ์ปยุตฺโต). (2536). พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พูนทรัพย์เกตุวีระพงศ์. (2553). พุทธจริยศาสตร์กับการศึกษา. ใน สารนิพนธ์พุทธศาสตร
บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่. แพร่: มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่.
วศิน อินทสระ. (2541). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ทองกวาว.
วินัย เพชรช่วย. (2558). การพัฒนาตน Self-Development. ค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม
2558, จากhttps://www. novabizz.com/NovaAce/Learning/Self_Development.
htm#ixzz3h6GWIKCW
สัญญา เคณาภูมิ. (2557). รูปแบบการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัยทางการบริหารจัดการ.
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 8(3) : 36-39.
_______. (2557). การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐประศาสนศาสตร์
จากการทบทวนวรรณกรรม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี. 3(1) : 1-22.
_______. (2559). การสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัยเชิงสำรวจทางการบริหาร. วารสาร
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 35(2): 274-281.
สุขุม นวลสกุล,วิทยา นภาศิริกุลกิจ และวิศิษฐ ทวีเศรษฐ. (2529). การเมืองและการ
ปกครองไทย พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: แสงจันทร์การพิมพ์.
อุเทน นุตรกลาง. (2554). พุทธศาสนากับการแก้ปัญหาสังคม. ค้นเมื่อ 11 พฤศจิกายน
2554, จากhttps://www.oknation.net/blog/autan/2011/11/11/entry-2
Roger, C.. (2000). Nicomachean Ethics. United kingdom: Cambridge University
Press.
Rosalind, H. (1991). Virtue Theory and Abortion. Philosophy and Public ffairs.
20(3) : 223-246.
Kanokwan Sutthiporn. (2011). Aristotle NicomacheanEthics. Cited in Tha Prachan
Interdisciplinary Reviews: Journals and Articles of Doctoral Dissertation,
College of Interdisciplinary Studies, Thammasart University. [Online]. Retrieved
from https://tpir53.blogspot.com/2011/02/aristotle-nicomachean-Ethics_07.html
Niwet Wongsawan. (2007). Ethics. Bangkok: Academic Promotion Printing.
Phoonsup Ketweerapong. (2010).Buddhist Ethics and Education. (Buddhist
Graduates’ dissertation, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Phrae
Campus).
Phra Thepwethee (Prayut Payutto). (1993).Buddhism as the Foundation of Science.
Bangkok:Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.
Sunya Kenaphom. (2014).The Writing Format of Research Conceptual Frameworks
on Management.Journal of Humanities and Social Sciences, Rajabhat
Mahasarakham University. 8(3), 36-39.
Sunya Kenaphom.(2014).Conceptual Framework of Quantitative Research in Public
Administration Literature Review.Journal of Humanities and Social
Sciences,Udon ThaniRajabhat University. 3(1),1-22.
_______. (2016). Strategy Development from Survey Research inAdministration.
Journal of Humanities and Social SciencesMahasarakham University. 35(2),
274-281.
Sukhum Nuansakul, Witthaya Naphasairikulkit & Wichian Thaweeset. (1986).Thai
Politics and Government.(6thEdition). Bangkok: Saengchan Printing.
Wasin Inthasara. (1998). Buddhist Ethics. Bangkok: Tongkwaw Printing.
Winai Phetchuay. (1998). Self-Development.[Online]Retrieved from https://www.
novabizz.com/NovaAce/Learning/Self_Development.htm#ixzz3h6GWIKCW
Uthen Notklang. (2011).Buddhism and Social Problem Solving. Retrieved
November 11 2011, from fromhttps://www.oknation.net/blog/
autan/2011/11/11/entry-2
Roger Crisp. (2000).Nicomachean Ethics. United kingdom: Cambridge University
Press.
Rosalind Hursthouse. (1991). Virtue Theory and Abortion.Philosophy and Public
Affairs.20 (3),223-246.