คุณภาพชีวิตของพระสงฆ์อาพาธเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี จังหวัดอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการรับรู้ข้อมูลข ่าวสารในการเข้ารับ
การรักษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต และปัญหาอุปสรรคในการเข้ารับการรักษา
ของพระสงฆ์ที่อาพาธเรื้อรังที่เข้ารับรักษาณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเฉลิมพระเกียรติ
60 พรรษา นวมินทราชินีจังหวัดอุบลราชธานีโดยใช้วิธีวิจัยสนามทางมานุษยวิทยา การเก็บ
ข้อมูลใช้วิธีการสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึกตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
จากนั้นใช้หลักการวิเคราะห์เหตุการณ์แบบไม ่อิงทฤษฎีในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัย
พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกว่าคุณภาพชีวิตโดยรวมลดลงกว่าเดิมทั้งคุณภาพชีวิตด้านร่างกาย
และด้านสุขภาพจิต แต่ไม่เกิดความเครียดสะสม ส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการรักษา
พยาบาลจากคนรอบข้างมากกว ่าหน ่อยงานของรัฐ ปัจจัยด้านการเดินทางและญาติโยม
ผู้ช่วยเหลือมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของภิกษุที่อาพาธเรื้อรัง และปัญหาอุปสรรคที่พบ
มากที่สุดได้แก่ปัญหาการขาดแพทย์เฉพาะทางและเครื่องมือเฉพาะโรค ท�ำให้ต้องเดินทางไป
รักษาต่อยังโรงพยาบาลอื่น ๆ
Article Details
References
ม.ป.น..
นิภาพรรณ ทิพยจักร. (2546). การศึกษาคุณภาพชีวิตของคนพิการทางกายที่โรงเรียนอาชีวะ
พระมหาไถ่พัทยา.(วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขางานบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
คนพิการ, บัณฑิตวิทยาลัยมหิดล).
ปราณีทองใส. (2548). คุณภาพชีวิตก่อนและหลังการผ่าตัดเปิดหัวใจ. (วิทยานิพนธ์หลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).
ปัณณธร ชัชวรัตน์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์ในเขตอ�ำเภอเมือง
จังหวัดพะเยา (รายงานการวิจัย). วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยาสถาบันพระบรม
ราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดีสุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดค�ำวัด.
กรุงเทพฯ: วัดราชโอรสาราม.
ภมริน เชาวนจินดา. (2544). ลักษณะทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. ใน
การประชุมวิชาการกรมสุขภาพจิตครั้งที่ 7 หัวข้อ“ความสุขที่พอเพียง”(ไม่ปรากฏหน้า).
กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต.
ภัทรพล ตันเสถียร. (2550). คุณภาพชีวิตของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการ
ทางการแพทย์ณ โรงพยาบาลสงฆ์. (วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชางานบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ, มหาวิทยาลัยมหิดล).
สิริรัตน์จันทรมะโน. (2553). ผลการใช้สมาธิด้วยพลังพีระมิดบ�ำบัดมีผลต่อความเจ็บปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดใหญ่ทางศัลยกรรมทั่วไป (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: คณะ
พยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ.
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุบลราชธานี. (2557). จ�ำนวนวัดในจังหวัดอุบลราชธานี.
ค้นเมื่อ 4 ธันวาคม 2557, จาก ubn.onab.go.th
NopparatBenjawattananon. (2014,20July).TempleStatisticinThailand.Matichon.
NipapornThippayajak.(2003).A Studyon QualityofLifeinthePhysically Disabled
at theRedemptooristVocationalSchool for the Disabled,Pattaya. (Master.
Arts (Rehabilitation Service for Persons with Disabilities), Gradute
School Mahidol University).
Pranee Thongsai. (2005). The Quality of Life Before and After Open Heart of
SurgeryPatients. (MasterofScienceProgram (publichealth), GraduteSchool
Mahidol University).
Phunnathon Chutwarat. (2010). The Research of the Factor Effective of Health
Behavior of Monk in Payao District. (Borommarajonani College of Nursing,
Phayao, Praborommaratchanok Institute Ministry of Public Health).
PhraThummakittiwong(Thongdeesuratecho)P.T.9Ratchabundit. (2005).Dictionary
for Learning in Buddhism Vocabulary. Bankok: Ratchaorasaram Temple.
Phamarin Chaowanajinda. (2001). The Nature of Buddhism Related to the Life
Quality of the Elderly. The Conference’s Department of Mental Health,
7th in the Topic of “the Great Sufficiency”.
Phattaraphon Thunsatian. (2007). Qualityof LifeAmingThaiBuddhism Monks With
Chronic Illnesses at Priest Hospital. (Master. Arts (Rehabilitation Service for
Persons with Disabilities), Gradute School Mahidol University).
Sirirat Jantharamano. (2010).TheEffectivenessof the MeditationPerformed under
Pyramid Power of Postoperative Pain Relief Subjectively. (Chiang Mai: Mc
Cormick Faculty of Nursing, Payao University.
National Office of Buddhism UbonRatchathani . (2014). The Temple in Ubon
Ratchathani. Retrieved October, 4 2014, from https://www.ubn.onab.go.th.