ภาวะผู้น�ำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

พระครูสาทรปริยัติคุณ (สนิท ฉนฺทปาโล)
สมศักดิ์ บุญปู่
สิน งามประโคน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มุ ่งศึกษาภาวะผู้น�ำของผู้บริหาร, พุทธธรรมที่ส ่งเสริมภาวะผู้น�ำ และ
บูรณาการภาวะผู้น�ำกับหลักพุทธธรรมที่ส ่งเสริมภาวะผู้น�ำของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด
กรุงเทพฯโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบสอบถามจ�ำนวน 300ชุดตลอดจนใช้การสนทนา
กลุ่มของผู้เชี่ยวชาญ 10 คนวิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการ
ศึกษาพบว่า 1 ) ด้านภาวะผู้น�ำค่าเฉลี่ยของภาพรวมอยู่ที่ระดับมากที่สุด คือ 4.34 โดยมีด้าน
การตัดสินใจทางการบริหารอยู่ในระดับมากผลการสัมภาษณ์พบว่าปัญหาภาวะผู้น�ำของผู้บริหาร
ที่ควรปรับปรุงคือ ด้านการสร้างภาวะผู้น�ำ และด้านผู้น�ำในการเปลี่ยนแปลง 2) ด้านหลักพุทธ
ธรรมที่ส่งเสริมภาวะผู้น�ำพบว่าด้านการสร้างภาวะผู้น�ำ ควรใช้หลักสัปปุริสธรรมด้านการสร้าง
แรงจูงใจควรใช้พรหมวิหาร ด้านการตัดสินใจควรใช้หลักอริยสัจ 4 ด้านการติดต่อสื่อสาร
ควรใช้หลักกัลยาณมิตร ด้านการเปลี่ยนแปลงควรใช้หลักทศพิธราชธรรมและ 3) บูรณาการ
ภาวะผู้น�ำกับหลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมภาวะผู้น�ำของผู้บริหารพบว่า ด้านปัจจัยน�ำเข้าผู้บริหาร
ต้องมีคุณธรรม นอกจากมีความสามารถในการบริหาร แล้วควรพัฒนาคุณธรรมภายในตน
เพื่อให้มีภาวะผู้น�ำเชิงพุทธผู้บริหารควรพัฒนาภาวะผู้น�ำโดยใช้หลักไตรสิกขาได้แก่ศีล สมาธิ
ปัญญา ทั้งนี้ควรน�ำกระบวนการ PDCA เป็นกระบวนการตรวจสอบผลการพัฒนา ด้านปัจจัย
น�ำออก (OUTPUT) ผลการศึกษา พบว่าผู้บริหารสถานศึกษาควรมีภาวะผู้น�ำที่ประกอบด้วย
องค์3 คือ จักขุมา (มีวิสัยทัศน์) วิธุโร (มีความรับผิดชอบ) นิสฺสยสมฺปนฺโน (มีความประพฤติดี)
สรุปเป็นรูปแบบชื่อ “ภาวะผู้น�ำแบบทศลักษณ์” หรือ TEN CHARECTERISTIC OF
LEARDERSHIP

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

รัตติกรณ์จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้น�ำ ทฤษฎีการวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ส�ำนักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542.
กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.
ภารดีอนันต์นาวี. (2548). การวิเคราะห์เส้นทางปัจจัยภาวะผู้น�ำและบรรยากาศองค์การที่ส่ง
ผลต่อการบริหารจัดการที่ดีของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภาคตะวันออก (รายงาน
การวิจัย). คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
วรภาส ประสมสุข และ นิพนธ์กินาวงศ์. (2550). หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธ.
วารสารศึกษาศาสตร์. 84-36 : )2(18.
นันทวรรณ อิสรานุวัฒน์ชัย. (2550). ภาวะผู้น�ำที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์: ศึกษาจาก
หลักพุทธธรรม. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).
RutthikornJongwasarn. (2013).Leadership,Theory,Research,and Development.
Bangkok: Chulalongkorn University
Office of the National Education Commission. (1999). National Education Act of
B.E.1999(2542). Bangkok: Prigwan Graphic Printing.
Paradee Anunnawi. (2005). Research Report of the Analysis of Leadership and
Organization AtmosphereEffecton Administrationof theEasternEducational
Service Area Office. (Research Report of Faculty of Education, Burapha
University).
Worraphat Prasomsuk & Niphon Kinawong. Education Administration Based with
Buddha-Dhamma”.Journal of Education. 84-36 ,)2(18.
Nunthawan Issaranuwatchai. (2007).Expected Leadership in Globalization:
fromBuddha-Dhamma.(Master’s Thesis, Graduate School, Mahachula
longkornrajavidyalaya University).