การวิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาตามภูมิปัญญาไทยในการพัฒนาชีวิตและสังคม : กรณีศึกษาภูมิปัญญาไทยอีสาน จังหวัดอุบลราชธาน

Main Article Content

พระสมุห์วิศักดิ์อิทธิญา (กอจันทร์)

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยอีสานในจังหวัด
อุบลราชธานี, วิเคราะห์คุณค่าการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยอีสานตามหลักปรัชญาการศึกษา และ
สังเคราะห์กระบวนการจัดการศึกษาตามแนวคิดการศึกษาภูมิปัญญาไทยเพื่อพัฒนาชีวิต
และสังคม โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสารการสัมภาษณ์และการ
สนทนากลุ่ม ประชากรได้แก่นักปราชญ์ท้องถิ่น ทั้งพระสงฆ์และฆราวาส จ�ำนวน 20 รูป/คน
ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 9 รูป/คนผลการวิจัย พบว่า 1) ภูมิปัญญาไทยอีสานจังหวัดอุบลราชธานี
ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านหัตถกรรมไทย ด้านแพทย์แผนไทย ด้านวัฒนธรรมไทย ด้านการจัดองค์กร
ชุมชนไทย และด้านการจัดสภาพแวดล้อมและธรรมชาติเป็นภูมิปัญญาของคนไทยที่ได้เรียนรู้
ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นจนกลายเป็นประเพณีการด�ำเนินชีวิตเรียบง่ายบนพื้นฐานของเศรษฐกิจ
พอเพียงตามหลักศาสนาและวัฒนธรรมของท้องถิ่น และท�ำให้ชุมชนสามัคคีเข้มแข็งด้วยการ
พึ่งตนเอง 2) คุณค่าการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยอีสานตามหลักปรัชญาการศึกษา ภูมิปัญญาด้าน
หัตถกรรมผ้าไหมกาบบัวแพทย์แผนไทยวัฒนธรรมไทยการจัดองค์กรชุมชนไทยการจัดสภาพ
แวดล้อมและธรรมชาติเป็นการเรียนรู้จากการถ่ายทอดจากสังคมหนึ่งไปสู่สังคมหนึ่งและอาศัย
ประสบการณ์สร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามตามหลักศาสนาและภูมิปัญญาไทยจนกลายเป็นวัฒนธรรม
ที่ดีงาม 3) การสังเคราะห์กระบวนการจัดการศึกษาตามแนวคิดการศึกษาภูมิปัญญาไทย
เพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม มี3 ด้านคือ (1) ด้านความดีได้แก่การประหยัด ซื่อสัตย์พอเพียง
ความกตัญญู(2) ด้านความงาม ได้แก่ฮีตสิบสองคองสิบสี่และ (3) ด้านความจริง ได้แก่ด�ำรง
อยู่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทยใช้ชีวิตเรียบง่ายตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเอื้อเฟื้อ
เผื่อแผ่สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชนกับชุมชนและเป็นกัลยาณมิตร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ทรงศิริสาประเสริฐ. (2542).ลักษณะการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาชาวบ้าน. (วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).
นพดล ทองนพเนื้อ. (2544). กระบวนการเรียนรู้ลืบทอดภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรเป็นอาหาร
และยา. กรุงเทพฯ: คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มณฑนา พิพัฒน์เพ็ญ. (2540). การมีส่วนร่วมและกระบวนการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์
ชาวบ้านในการสอนดนตรีพื้นบ้านของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ
ประถมศึกษาจังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
เมตต์ เมตต์การุณจิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชนองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นและราชการ พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์การพิมพ์.
รัตนะ บัวสนธ์. (2537).แนวทางการค้นหาภูมิปัญญาท้องถิ่น.กรุงเทพฯ:กรมวิชาการกระทรวง
ศึกษาธิการ.
วิจิตรศรีสอ้าน. (2526). ปรัชญาการศึกษาในพื้นฐานการศึกษา.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช.
ศักดา ปรางค์ประทานพร. (2526). ปรัชญาการศึกษาฉบับพื้นฐาน. ชลบุรี: มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
สายรุ้ง ธาดาจันทน์. (2554).อาหารล้านนาในวิถีวัฒนธรรมเชียงราย. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง).
ส�ำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติส�ำนักนายกรัฐมนตรี. (2550). รัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจา
นุเบกษา.
เสน่ห์จามริก. (2537). แนวทางพัฒนาการศึกษาไทย: บทวิเคราะห์เบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
อารีพันธุ์มณี. (2543). จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ใยไหม.
อุดม บัวศรี. (2528). ปรัชญาเอกซิสเตนเชียนลิสม์กับพุทธปรัชญา. วารสารมนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์. 4(2) : 63.
เอกวิทย์ณ ถลาง. (2540). ภูมิปัญญาชาวบ้านสี่ภาค : วิถีชีวิตและกระบวนการการเรียนรู้ของ
ชาวบ้านไทย. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
SongsiriSaprasert. (1999). The Characteristicof Knowledgeand Wisdom Transferring.
(Research Report of Education, Program of Adult Education and Continuing
Education, Mahidol University).
NapadolThongnoppakaow. (2001). The Inheriting of Herbal Use as Food and
MedicineWisdom. Bangkok:FacultyofPharmacy,Srinakharinwirot University.
MonthanaPhiputpeng. (1997). The Cooperating and Inheriting of Local Wisdom
in Local Music Teaching in Elementary School inOffice of the Elementary
Education Commission Songkhla. (Master’s Thesis, Program in Curriculum
and Teaching,Silpakorn University).
Met Metkarun. (2010).CooperativeLearningEducation Administration:Peopleof
Local Administration and Local Government. (2ndEdition). Bangkok: Book-
pointCo.,Ltd.
Rattan buason. (1994). Guidelines for Searching the Local Wisdom.Bangkok:
Department of Academic Affairs, the Ministry of Education.
WijitSrisaan. (1983). Education Philosophy in Foundationof Education. Bangkok:
SukhothaiThammathirat University.
SukdaPrangprathanporn. (1983). Fundamental Education Philosophy. Chonburi:
Srinakharinwirot University.
SayrungThadajan. (2011). Lanna Food in Chiang Rai Culture. (Master’ Thesis,
Program in Culture Study, Mae FahLuang University).
Officeof the NationalEducation Commission,Officeof thePrime Minister. (2007).
Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2007( 2550). Bangkok: Cabinet
and Royal Gazette Publishing Office.
Sane Jamarik. (1994). Thai Education Development: Fundamental Analysis.
(2ndEdition). Bangkok: Local Development Foundation.
ArreePhunmanee. (2000).CreativeTeachingPsychology. Bangkok:YaimaiPrinting.
Udom Bausri. Existentialism Philosophy and Buddhism Philosophy. .Journal of
Humanities and Social Sciences. 4(2), 63.
Ekkawit Na Thalang. (2007).Four Regions Wisdom: Thai Local Ways of Life and
Learning Process.Nonthaburi: SukhothaiThammathirat University Press