การพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์จากการอ่านบทความทางวิชาการ ภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาทักษะความสามารถในการคิด เชิงวิเคราะห์
ในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลจากข้อมูลในบทความวิชาการภาษาอังกฤษ 2) เปรียบเทียบ
ความสามารถในการอ ่านบทความวิชาการภาษาอังกฤษ ก ่อนและหลังการใช้ทฤษฎีการ
คิดเชิงวิเคราะห์ในการจัดการเรียนการสอนโดยการใช้วิจัยเป็นฐาน 3) วัดความ พึงพอใจ
ของนักศึกษาที่มีต่อกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัย
เชิงปริมาณ ประชากรคือนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษและสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานีกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 เอกภาษา
อังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานีที่เรียนวิชาการอ่านภาษาอังกฤษ 2 (1551202)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 110 คน
โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบก่อนเรียนและ
หลังเรียน ชุดฝึกการอ่านบทความวิชาการภาษาอังกฤษจ�ำนวน 10 เรื่อง และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจ โดยน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ค่า t-test (Dependent Samples) หาค่ามัชฌิมา
เลขคณิต (X
_
) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้โปรแกรม SPSS สรุปและอภิปราย
ผลในรูปตารางและค�ำบรรยายผลการวิจัยพบว่า1) นักศึกษามีการพัฒนาทักษะความสามารถ
การคิดเชิงวิเคราะห์ในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลจากข้อมูลด้านการอ่านบทความ
วิชาการภาษาอังกฤษที่สูงขึ้น 2) นักศึกษามีความสามารถในการอ่านบทความวิชาการภาษา
อังกฤษ ก่อนและหลังการใช้ทฤษฎีการคิดเชิงวิเคราะห์ในการจัดการเรียนการสอนโดยการ
ใช้วิจัยเป็นฐาน โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิจัย
เป็นฐานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X
_
= 4.40)
Article Details
References
เรียนรู้. กรุงเทพฯ: ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา.
นโยบายและยุทธศาสตร์, ส�ำนักงาน. (2555). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระยะ 3 ปี
ของกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2549-2547). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานปลัดกระทรวง.
ปฏิรูปการศึกษา,ส�ำนักงาน. (2555). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
พิชญ์สินีชมภูค�ำ. (2554). การเรียนโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน. เชียงใหม่: หน่วยศึกษานิเทศก์
กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 8.
ไพฑูรย์สินลารัตน์. (2555). หลักการสอนแบบเน้นการวิจัย (Research-Based Teaching).
ใน ไพฑูรย์สินลารัตน์, การเรียนการสอนที่มีการวิจัยเป็นฐาน, 1-7. กรุงเทพฯ: คณะ
ครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพศาลสุวรรณน้อย. (2554).การจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน:การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัย
วิจัย. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 27(3-4) : 17-26.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์และ ทัศนีย์บุญเติม. (2555).การสอนแบบ Research-Based Learning.
ใน ไพฑูรย์สินลารัตน์, การเรียนการสอนที่มีการวิจัยเป็นฐาน, 8-19. กรุงเทพฯ:
คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Thitsana Khaemani. (2011). The Learning Management by Using Research as a
Tool in Learning Process. Bangkok: Office of Research and Education
Development.
Policy and Strategy, Office. (2012). Strategy Plan of Education Development in
Three Year Phraseof Ministry of Education (BE 2547-2549). Bangkok:
Office of the Permanent Secretary.
Education Reform Office. (2012). National Education Act of B.E. 2()1999( 2542nd
Edition) BE 2545. Bangkok: Prigwan Graphic Printing.
Pitsinee Chompookhum. (2011). Research Based Learning. Presented in Action
Research Workshop. Chiang Mai: Administration Section, Department of
General Education Area 8.
PhaithoonSinlarut. (2012).Research-Based Teaching Cited inPhaithoonSinlarut,
Research-Based Learning,1-7. Bangkok:FacultyofEducation, Chulalongkorn
University.
Phaisarn Suwunnoy. (2011). Research-Based Teaching: The Development to
University of Research. Journal of Education, Khon Kaen University. 27
(3-4),17-26.
SomwungPitthiyanuwuut & ThutsaneeBoontoem. (2012).Research-Based Learning
Cited inPhaithoonSinlarut,Research-Based Learning,8-19.Bangkok:Faculty
of Education,Chulalongkorn University.