การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของผู้ประกอบอาชีพ นวดแผนไทยในจังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

จิดาภา ศรียะวงษ
พิกุล สายดวง
ชญาณ์นันท์ ปิติกรพวงเพชร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ของผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทยในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี2) เพื่อเปรียบเทียบ
ความสามารถในด้านการฟัง พูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทย
ก่อนและหลังการอบรมด้วยบทเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส�ำหรับผู้ประกอบอาชีพ
นวดแผนไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทย
ในเขตจังหวัดอุบลราชธานีจ�ำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) บทเรียน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส�ำหรับผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทย 2) แบบทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียน 1 ชุด จ�ำนวน 30 ข้อ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ประกอบ
อาชีพนวดแผนไทยในจังหวัดอุบลราชธานีต่อการอบรมการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารคณะผู้วิจัยได้ท�ำการทดสอบก่อนเรียนและอบรมกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ชุดฝึกทักษะ
การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจ�ำนวน 20ชั่วโมงจากนั้นท�ำการสอบหลังเรียน และได้น�ำ
ข้อมูลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทักษะภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการ
ทดสอบค่าที( t- test ) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว ่า 1) ผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทยได้พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารเรียนรู้ค�ำศัพท์ส�ำนวนที่จ�ำเป็นต่อการสื่อสารในอาชีพนวดแผนไทย2)ผลสัมฤทธิ์
ของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทยไม่แตกต่างกันที่ระดับ
นัยส�ำคัญ .05 3) ด้านความพึงพอใจต ่อการอบรมการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทยมีความพึงพอใจด้านวิทยากรที่มีความรู้ความ
สามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา คิดเป็นร้อยละ 4.36 ด้านการจัดเนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน
คิดเป็นร้อยละ 4.77 และด้านกิจกรรมการเรียนการสอนมีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง คิดเป็นร้อยละ 4.85

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชูสิมา พนมศักดิ์. (2549).ความคิดเห็นของผู้ประกอบอาชีพหมอนวดแผนไทยต่อการปฏิบัติงาน
ในจังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสนศาตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
ดวงชีวา ทิพย์แดง. (2549).การพัฒนาบทเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเพื่อส่งเสริมความ
สามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษส�ำหรับบุคลากรสวนกล้วยไม้. (วิทยานิพนธ์ศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
ประภาสุขเกษม และดวงพร พงษ์โสภาวิจิตร. (2548). ข้อมูลพื้นฐานการใช้ภาษาต่างประเทศ
ในภาคเหนือ(ข้อมูลชุดนายจ้าง หัวหน้างาน ผู้ประกอบอาชีพอิสระ). กรุงเทพฯ:ส�ำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ผาณิต บุญยะวรรธนะ. (2542). ความต้องการภาษาอังกฤษในธุรกิจการท่องเที่ยว. เชียงใหม่:
ภาคภาษาอังกฤษ คณะมนุษย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2555).ข้อมูลการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
(รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย.
สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2547). ธุรกิจนวดแผนไทย. ปทุมธานี:
สถาบันพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม.
สุมินตรา อังวัฒนกุล. (2537). วิธีสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โสมมนัสสา โสมนัส. (2549). พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวในการเลือกใช้บริการนวดแผนไทยในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่).
อรุณีวิริยะวิจิตรา. (2532).การเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร. เชียงใหม่:คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Brumfit, C.J. & Finocchiaro, M.B. (1983). The functional-notionalapproach: from
theory to practice. New York: Oxford University Press.
Hutchison,T. & A.Waters. (1996).Englishfor specific purposes: A learning-centered
approach. Cambridge: Cambridge University Press.
Johns, A. M. and T. Dudley-Evans. (2000). Developments in English for specific
purposes: A multi-disciplinary approach. Cambridge: Cambridge University
Press.
Little, W. (1981). Communicativelanguageteaching: Anintroduction. Cambridge:
Cambridge University Press.
Mackay, R. and A. Mountford. (1978). English for Specific Purposes. London:
Longman.
Robinson, P. (1991). ESP Today: A Practitioner’s Guide. London: Prentice Hall
International.
Stevens, P. (1988). ESP after twenty years: a re-appraisal. Singapore: SEAMEO
Regional Language Center.
Widdowson, H.G. (1979). Explorations in applied linguistics. Oxford: Oxford University Press.
Wilkins, D.A. (1976). Notional syllabuses. Oxford: Oxford University Press
Choosima Phanoonsuk. (2006). The Opinion of Thai Massager on Working in
Chnburi. (Master’Thesis,Program inPublic, Administration GraduateSchool,
Burapha University).
Dauangcheewa Thipdaeng. (2006). The Development of Language for Communication Lesson to Promote Listening and Speaking Ability of OrchidFarmer. (Master’ Thesis, Program in Education, Graduate School, Chiang
Mai University).
PraphaSukkasem& DuangpornPongsaphajit. (2005).The UseofForeignLanguage
inthe NorthernofThailand(Employer,Supervisor,and Freelance. Bangkok:
Thailand Research Fund.
Phanit Boonyawutthana. (1999). The Need of English in Tourism Business.
(Department of English, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chiang
Mai University).
KasikornThaiResearch Center. (2012).The DataofEducationtoEnhance Health
Tourism Market Potential. Kasikorn Thai Research Center.
Institute for small and Medium Enterprises Development. (2004). Thai Massage
Business. Pathumthani: Institute for small and Medium Enterprises Development.
Sumintra Kungkakul. (1994). Teaching English as a Foreign Language. Bangkok:
Chulalongkorn University.
Somnanutsana Somnanut. (2006). The Behavior of Tourist in Getting Thai Massage in Muang District, Chiang Mai. (Master’s Thesis, Program inEconomics,
Graduate School Chiang Mai University).
Arunee Wiriyajittra. (1989). English for Communication Teaching and Learning.
(Faculty of Humanities, Chiang Mai University).
Brumfit, C.J. & Finocchiaro, M.B. (1983). The functional-notionalapproach: from
theory to practice. New York: Oxford University Press.
Hutchison,T. & A.Waters. (1996).Englishfor specific purposes: A learning-centered
approach. Cambridge: Cambridge University Press.
Johns, A. M. and T. Dudley-Evans. (2000). Developments in English for specific
purposes: A multi-disciplinary approach. Cambridge: Cambridge University
Press.
Little, W. (1981). Communicativelanguageteaching: Anintroduction. Cambridge:Cambridge University Press.
Mackay, R. and A. Mountford. (1978). English for Specific Purposes. London:
Longman.
Robinson, P. (1991). ESP Today: A Practitioner’s Guide. London: Prentice Hall
International.
Stevens, P. (1988). ESP after twenty years: a re-appraisal. Singapore: SEAMEO
Regional Language Center.
Widdowson, H.G. (1979). Explorations in applied linguistics. Oxford: Oxford University Press.
Wilkins, D.A. (1976). Notional syllabuses. Oxford: Oxford University Press.