การเพิ่มสมรรถนะและพัฒนาศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษ ของกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธาน

Main Article Content

พิกุล สายดวง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะและศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษ
ของกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ใน
เขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี2) ศึกษาแนวทางการเพิ่มสมรรถนะและพัฒนาศักยภาพการใช้
ภาษาอังกฤษของกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพื่อรองรับการเป็นประชาคม
อาเซียน ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี3) พัฒนาสมรรถนะและศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษ
ของกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในเขต
พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี4) ศึกษาความพึงพอใจต่อการเพิ่มสมรรถนะและพัฒนาศักยภาพ
การใช้ภาษาอังกฤษของกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพื่อรองรับการเป็น
ประชาคมอาเซียน ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีงานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ
ประชากรคือกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
จ�ำนวน 3กลุ่ม กลุ่มละ75คน ได้แก่กลุ่มผ้ากลุ่มของใช้และกลุ่มอาหารเครื่องดื่มและสมุนไพร
จ�ำนวน 225 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ในเขตพื้นที่
จังหวัดอุบลราชธานีทั้ง3กลุ่ม กลุ่มละ60คน รวมทั้งหมดจ�ำนวน 180คน โดยการสุ่มตัวอย่าง
แบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ชุดฝึกอบรม แบบทดสอบการวัดความสามารถด้าน
การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบส�ำรวจความต้องการในการเข้าร่วมอบรม แบบประเมิน
ความพึงพอใจต่อการเพิ่มสมรรถนะและพัฒนาศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและ
แบบสอบถามเพื่อทราบสมรรถนะและศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษของกลุ่มผู้ประกอบการ
ผลิตภัณฑ์ชุมชนจังหวัดอุบลราชธานีโดยน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ค่าt-test (DependentSamples)
หาค่ามัชฌิมาเลขคณิต(X_)และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้โปรแกรม SPSSผลการ
วิจัยพบว่า1)ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP)ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีมีสมรรถนะ
และศักยภาพในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก(X
_
= 3.60) 2) แนวทางในการเพิ่มสมรรถนะและพัฒนาศักยภาพทักษะทางภาษาอังกฤษ ของ
ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีคือ การพัฒนาทักษะ
ภาษาอังกฤษด้านการพูด (X
_
= 4.29) 3) สมรรถนะและศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษของกลุ่ม
ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในเขตพื้นที่
จังหวัดอุบลราชธานีทั้ง 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผ้า กลุ่มของใช้และกลุ่มอาหาร เครื่องดื่มและ
สมุนไพร มีผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .014)ความพึงพอใจต่อการเพิ่มสมรรถนะและพัฒนาศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษของ
กลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในเขตพื้นที่
จังหวัดอุบลราชธานีโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X_= 4.02)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เดชา เดชะวัฒนไพศาล. (2543). ปัญหาและความต้องการ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ของพนักงานบริษัทเอ็กโก้เอ็นจิเนียริ่งแอนด์เซอร์วิสจ�ำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลป
ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
บุญเรือง ชื่นสุวิมล. (2553). เทคนิคการจัดฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด
ยูเคชั่น.
บุญเรือง สุนทรสลิษฎ์กุล. (2553). ความต้องการการฝึกอบรมอาชีพของผู้ใช้แรงงานในจังหวัด
แพร่. (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
พิชัยสุขเลิศ. (2543).การเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
มณเฑียร บุญช่วย. (2554). ความต้องการของการพัฒนาอาชีพสตรีในชุมชนแออัดเขตยานนาวา
กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพายัพ).
ศิริลักษณ์ลิ้มภักดี. (2542). ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สุมินตรา อังวัฒนกุล. (2537). ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ. กรุงเทพฯ: บริษัท
ส�ำนักพิมพ์หน้าต่างสู่โลกกว้างภักดี.
David D. Dubois & William J. Rothwell. (2004). Educational Research : Fundamentals for the Consumer. New York: Harper Collins College Publishers.
Little wood. (1985). Approachesand Methods inLanguageTeaching. New York:
Cambridge University Press.
Spencer & Spencer. (1993). Critical Transitions : Human Capacity Development
Across the Lifespan. EDC (Education Development Center), UNDP (United
Nations Development Program).
Widdowson. (1979). Developmentof Technical English Lessons Based on Problem - Based Learning to Increase Listening-Speaking Ability and Critical
Thinkingof DiplomaLevelStudents. (MasterofEducation, GraduateSchool,
Chiang MaiUniversity).
Decha Thechawutthanapaisarn. (2000). The Problems and Needs in English for
Communicationof staff inEGCO Engineeringand Service Co., Ltd. (Master’s
thesis, Department of Arts in English for Communication, Graduate School,
Burapha University).
Boonruang Chunwamon. (2010). The Efficient Training Management Technique.
Bangkok: SE-EDUCATION Public Company Limited.
Boonruang Sunthonsalitkul. (2010). The Need in Career Training of Worker in
Phrae. (Master’s Thesis, Program in Economics, Graduate SchoolChiang
Mai University).
Phichai Sukloet. (2000). Teaching and LearningLanguage for Communication.
(Master’s thesis, Departmentof Arts inEnglishand Communication,Graduate
School, Chiangmai University).
MonthianBoonchuay. (2011).The Need in CareerDevelopmentof Women Group
in SquatterYanawa Community, Bangkok. (Master’s Thesis, Program in
Economics, Graduate School, Payap University).
Siriluk Limpukdi. (1999). English for Communication. Bangkok: SE-EDUCATION
Public Company Limited.
Mantra Ungkawatthanakul. (1994).Englishfor Communicationin Career Working.
Bangkok: Natang Su LokKwang Pakdee Co., ltd.
David D. Dubois & William J. Rothwell. (2004). Educational Research : Fundamentals for the Consumer. New York: Harper Collins College Publishers.
Little wood. (1985). Approachesand Methods inLanguageTeaching. New York:
Cambridge University Press.
Spencer & Spencer. (1993). Critical Transitions : Human Capacity Development
Across the Lifespan. EDC (Education Development Center), UNDP (United
Nations Development Program).
Widdowson. (1979). Development of Technical English Lessons Based on Problem - Based Learning to Increase Listening-Speaking Ability and Critical
Thinkingof DiplomaLevelStudents. (MasterofEducation, GraduateSchool,
Chiang MaiUniversity).