พุทธวิธีบริหารส�ำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน*

Main Article Content

อาภรณ์รัตน์ เลิศไผ่รอด

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำเสนอปัญหาและผลกระทบ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในการปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เพราะประชาคมอาเซียนได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง
ในวิถีชีวิตของสังคมไทย มีบทบาททั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส�ำหรับการก้าว
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น เผชิญปัญหาส�ำคัญในด้านโครงสร้าง
การพัฒนาส่งเสริมในด้านเศรษฐกิจการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ด้านภาษาวัฒนธรรม และจารีตประเพณีแนวทางในการปรับตัวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประกอบด้วย การปรับเปลี่ยนโครงสร้างที่เน้นการบริหารแบบกระจายอ�ำนาจ การก�ำหนด
นโยบายเศรษฐกิจให้มีความเข้มแข็งการเฝ้าระวังการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เน้นการประสานความร่วมมือกับส่วนราชการและเอกชน ในการปรับบริบทภารกิจ การพัฒนา
ทักษะทางด้านภาษาของบุคลากร และการส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน ตลอดถึงการเรียนรู้และ
การท�ำความเข้าใจในวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน การบริหารองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ส�ำหรับการเป็นประชาคมอาเซียนนอกเหนือจากการบริหารตามแนวคิดตะวันตกแล้ว
ยังสามารถน�ำมาปรับใช้ให้เข้ากับหลักธรรมค�ำสอนในพระพุทธศาสนา ดังเช่น สัปปุริสธรรม 7
การบูรณาการในการบริหารงานจึงควรต้องมีความสมดุลกัน ทั้งด้านความรู้และความสามารถ
อันจะเป็นส่วนส่งเสริมกระบวนการบริหาร ความยืดหยุ่นของผู้บริหาร การใช้เหตุผล การรู้จัก
ประมาณตน การรอจังหวะเวลา การรู้จักภูมิหลังของสังคมชุมชน รวมทั้งมีทัศนคติที่ดีต่อ
หน้าที่ความรับผิดชอบ ขณะเดียวกัน ก็เป็นเครื่องควบคุมยึดเหนี่ยวจิตใจ ไม่ให้บุคคลใช้ความรู้
ความสามารถไปในทางที่ผิดไม่ให้เกิดผลเสียต่อตนเองและองค์กรตลอดจนสังคม จึงกล่าวได้ว่า
เหล่านี้คือ การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพโดยพุทธวิธีการบริหาร

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชูวงศ์ฉายะบุตร. (2539).การปกครองท้องถิ่นไทย.กรุงเทพฯ:สมาคมนิสิตเก่ารัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ธเนศวร์เจริญเมือง. (2553). ทฤษฎีและแนวคิด : การปกครองท้องถิ่นกับการบริหารจัดการ
ท้องถิ่น (ภาคแรก) พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
ประภัสสรณ์เทพชาตรี. (2555). ประชาคมอาเซียน พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์เสมา
ธรรม.
พระธรรมโกศาจารย์(ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม พิมพ์
ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: บริษัทเอส. อาร์. พริ้นติ้งแมสโปรดักส์จ�ำกัด.
ลิขิต ธีระเวคิน. (2548). การเมืองการปกครองไทย พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระศักดิ์เครือเทพ. (2548). นวัตกรรมสร้างสรรค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ส�ำนักประชาสัมพันธ์ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2550). รัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทน
ราษฎร.
ศุภสวัสดิ์ชัชวาล. (2559). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับการปกครองทองถิ่นไทย. ค้นเมื่อ 8
มีนาคม 2559, จาก https://www.dla.go.th/upload/document
Choowong Chayaboot. (1996).ThaiLocal Government. Bangkok: Alumni Association
ofPolitical Science, Chulalongkorn University.
Thanet Charoenmuang. (2010).Theoryand Concept:Local Governmentand Local
Administration. ((First Episode) 2nd Edition).Bangkok:KobfirePrintingProject.
Prapatsorn Thepchatree. (2012). ASEAN Economic Community. (5thEdition).
Bangkok: Sema Dhamma Publishing.
Phra DHammakosajarn. (2006).Buddhist Administration.Bangkok:Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.
Phra Brahmagunabhorn (Bhikkhu P.A. Payutto). (2003). Buddhism Dhamma
Tipitaka Dictionary. (12thEdition).Bangkok:S.R.Printing MassProduct Co.,Ltd.
Likhit Teerawekhin. (2005). Thai Politics and Government. (7thEdition). Bangkok:
Thammasat University Press.
WeerasakKuaphet. (2005). CreativeInnovationofLocal Administration.Bangkok:
Thailand Research Fund.
Public Relations Departmentof the Secretariatof the Houseof Representatives.
(2005). Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2007( 2550). Bangkok:
the Secretariat of the House of Representatives Press.
Supasawut Chatchawan. (2016). ASEAN Economic Community and Local
Administration.Retrieved March,82016, fromhttps://www.dla.go.th/upload/
document.