บทบาทการสร้างสันติภาพในทิเบตของทะไลลามะ

Main Article Content

ศิรวัฒน์ ครองบุญ

บทคัดย่อ

องค์ทะไลลามะ ทรงเป็นผู้น�ำจิตวิญญาณและผู้น�ำสูงสุดแห ่งทิเบต ได้รับการขนาน
พระนามว่า มหาสมุทรแห่งปัญญา ผู้นิยมแนวทางสันติวิธีและเสรีภาพ ทรงเป็นเสียงประกาศ
พระพุทธศาสนา ได้รับมติให้เป็นบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดด้านบทบาทการสร้างสันติภาพ
และการสร้างความเปลี่ยนแปลงต่อประชาคมโลกท่ามกลางกระแสร้อนระอุ ของสงครามการ
ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของจีน ที่มุ่งยึดครองทิเบต และการเบียดเบียนระหว่างชนชาติบทความนี้
มีวัตถุประสงค์ เพื่อน�ำเสนอบทบาทการสร้างสันติภาพ การเคารพสิทธิมนุษยชน ขั้นพื้นฐาน
และการอนุรักษ์วัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขององค์ทะไลลามะ ผู้ซึ่งไม่เคยสิ้นหวัง
ที่ได้เสด็จไปยังองค์การสหประชาชาติเพื่อเรียกร้องสันติภาพ การอนุรักษ์วัฒนธรรม วิถีชีวิต
รูปแบบการปกครองตนเองในวิถีทางแห่งสันติและเมตตาสันติภาพ คือการที่คนในสังคมอยู่ร่วม
กันอย่างสงบสุขไม่มีความขัดแย้งกัน เคารพสิทธิ์ซึ่งกันและกัน หนทางที่จะน�ำโลกไปสู่สันติภาพ
ได้นั้น ประชาคมโลก ต้องปรับทัศนคติในการบริหารความขัดแย้งทางความคิด ความแตกต่าง
ทางวัฒนธรรม เชื้อชาติศาสนา อุดมการณ์ทางการเมือง การนิยมความรุนแรง ด้วยการพูดคุย
เจรจา เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และร่วมกันผลักดันให้เกิด
สันติภาพขึ้นในโลกผลจากการเรียกร้องสันติภาพ ขององค์ทะไลลามะ ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
คือหยุดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์การท�ำลายทางวัฒนธรรม การเผาศาสนสถาน และการยุตินโยบาย
ขยายประชากรจีนเข้าไปในทิเบตจึงท�ำให้คณะกรรมการรางวัลโนเบลได้มอบรางวัลโนเบลสาขา
สันติภาพ แด่องค์ทะไลลามะ ที่ทรงเรียกร้องให้ยุติการใช้ความรุนแรง และท�ำให้เกิดเสรีภาพ
แก่ประชาชนชาวทิเบตได้ในที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤตศรีสามะพุทธิ. (2549). เข้าใจทะไลลามะ มหาสมุทรแห่งปัญญา (Understanding the
Dalai Lama). กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ หจก.สามลดา.
คล่อง ศิรประภาธรรม. (2549). ท่องเที่ยวประเทศจีน พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทตถาตา
พับลิเคชั่น จ�ำกัด.
ฉัตรสุมาลย์กบิลสิงห์ษัฏเสน. (2538). อัตชีวประวัติขององค์ทะไลลามะ อิสรภาพในการลี้ภัย
พิมพ์ครั้งที่ 2. ประพันธ์สาส์น, 2538.
________. อัตชีวประวัติขององค์ทะไลลามะ อิสรภาพในการลี้ภัย พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
ประพันธ์สาส์น, กรุงเทพฯ: 2542.
ปราชญากล้าผจัญ. (2540). พฤติกรรมผู้น�ำทางการศึกษา.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง.
พระมหาบุญไทย ปุญฺมโน. (2559). องค์ดาไลลามะประธานาธิบดีโอบามา จีนและทิเบต. ค้น
เมื่อ9 มีนาคม 2559,จากhttps://www.cybervanaram.net/2009showall=&start=2
พระพรหมบัณฑิต(2559). พุทธวิธีสร้างสันติภาพ. ใน ที่ระลึกงานบ�ำเพ็ญกุศลวันมูลนิธิมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่52. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหารุ่งเพชร ติกฺขวชิโร. (2551). ทะไลลามะ ผู้น�ำที่ไม่เคยสิ้นหวัง ฉบับรักชาติยิ่งชีพ.
กรุงเทพฯ: ศูนย์ไทย-ทิเบต.
_________. (2537). ธิเบตที่อินเดีย (Tibetans in India). กรุงเทพฯ: สองศยาม.
_________. (2553). ธิเบตที่อินเดีย Tibetans in India. กรุงเทพฯ: สองศยาม.
ศุภลักษณ์สนธิชัย. (2548). คู่มือนักเดินทางฉบับพกพา ทิเบต. กรุงเทพฯ: อทิตตา.
สงวน สุทธิเลิศอรุณ. (2547). ทฤษฎีและปฏิบัติการทางจิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: อักษร
พัฒนาพานิชย์.
สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์. (2559). ‘เอกราช’ ทิเบต ฝัน (ที่) เป็นจริง?. ค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2559,
จาก https://www.manager.co.th
สีมน แปล. (2546). ดวงตาแห่งทิเบต Daughter of Tibet พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�ำนัก
พิมพ์วิริยะ.
สุลักษณ์ศิวรักษ์. (2556).แผ่นดินและประชากรของข้าพเจ้าอัตชีวประวัติของทะไลลามะแห่ง
ธิเบต พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
อรษา สงค์พูล และปนัยดา. (2559). สหรัฐเป็นห่วงสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน เรียกร้อง
จีนทบทวนนโยบายในทิเบต. ค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2559, จาก https://www.ryt9.com/s/
iq01/537605
Kritsri Samaphuthi. (2006). Understanding the Dalai Lama. Bangkok: Samlada
Co., Ltd.
Klong Sirapraphathum. (2006). Chinese Tourism. (2ndEdition). Bangkok: Tathata
Publishing Co., Ltd.
Chatsumal Kabilsing Sutthasen. (1995). Dalai LamaBibliography: Freedom from
Refugee. (2ndEdition). Prapansarn Publishing.
________.Dalai LamaBibliography: Freedom from Refugee. (1999). (3rdEdition).
Bangkok :Prapansarn Publishing.
Pratya Klaphajun. (1997). Education Leader Behavior. Bangkok: Ramkhamhaeng
University.
Phra Boonmahathai Phunyamano. Dalai Lama, Obama, Chinese, and Tibet.
[Online]. Retrieved from https://www.cybervanaram.net/2009showall=&start=2
Phra Mahaprayoon Thummajitto (Meeroe). (2016). Buddhist Ways of Peace. In
Charitable Activityon Mahachulalongkornrajavidyalaya DayYear 52.Bangkok:
Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.
Pra MaharungphetTikkakawachito. (2008). DalaiLama,The HopefulLeader:The
Patriots Edition. Bangkok: Thai - Tibet Center.
_______. Tibetans in India. (1994). 1st Edition. Bangkok: Song Siam Co., Ltd.
_______.Tibetans in India. (2010). 1stEdition. Bangkok: Song Siam Co., Ltd.
Suppaluk Sonthichai. (2005). Tourist Manual: Tibet. 1st Edition. Bangkok: Athita
Publishing.
Sanguan Suthilertarun. (2004). Theory and Social Psychology Practice. Bangkok:
Aksorn Pattana Panich Publishing.
Sithithep Ekkasitpong. (2016). Sovereigntyof Tibet: Dream Comes True. [Online].
Retrieved from https://www.manager.co.th
Srimon Prae. (2003). Daughter of Tibet. (2ndEdition). Bangkok: Wiriya Publishing
on behalf of Wiriya Co., Ltd.
Suoaluk Siwarut. (2013). My Land and My people: Dalai Lama Bibliography.
(5thEdition). Bangkok: Ruen Kaew Printing.
Orrasa Wongpoon & Panaiyada. (2016). United States Concern on Human Right
and Asking China to Reform Policy in Tibet. Retrieved March 2016 ,9, from
https://www.ryt9.com/s/iq01/537605