ระบอบการปกครองสุดท้าย : กรณีศึกษาระบอบประชาธิปไตยที่สมบูรณ

Main Article Content

พชรวัฒน์ เส้นทอง

บทคัดย่อ

บทความนี้จัดท�ำขึ้นเพื่อน�ำเสนอข้อค้นพบที่เกิดจากการศึกษาอิสระ โดยผู้เขียนได้
ก�ำหนดวัตถุประสงค์ไว้4 ข้อ คือ 1) ศึกษาพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย ได้พบว่า
มีพัฒนาการมาจาก 2 สาย คือจากลัทธิทุรชนาธิปไตยหรือทรราชและระบอบมัชฌิมาธิปไตย
2) ศึกษาประชาธิปไตยในทรรศนะของปราชญ์ตะวันตก ได้พบว่า ในทรรศนะของดิโมคริตุส
ถือว่าเป็นระบอบที่เหมาะสมส�ำหรับมนุษยชาติส่วนเพลโตเห็นว่าหากยึดกฎหมายเป็นมาตรฐาน
ถือว่าเป็นระบอบที่เลวที่สุดแต่ในสภาพที่ไร้กฎหมาย เป็นระบอบที่ดีที่สุด 3) ศึกษาหลักการ
ที่ส�ำคัญของระบอบประชาธิปไตย พบว่า อ�ำนาจสูงสุดเป็นของประชาชน โดยประชาชน
แบ่งอ�ำนาจเป็น 3 ส่วน คือ นิติบัญญัติบริหารและตุลาการ 4) ศึกษาระบอบประชาธิปไตย
ที่สมบูรณ์ในทรรศนะนักวิชาการไทย ได้พบว่า จะต้องเป็นระบอบที่ให้ทุกคนเท่าเทียมกัน
ในอ�ำนาจทางการเมือง ภายใต้กฎหมายและการจัดสรรผลประโยชน์ทุกอย่าง อย่างเท่าเทียม
แก่ทุกคน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จิรโชค วีระสัย. (2543). สังคมวิทยาการเมือง Political Sociology. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง.
จุมพล หนิมพานิช. (2551). ผู้น�ำ อ�ำนาจ และการเมืองในองค์การ Leader, Power and
Politics in Organization พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ฉัตรทิพย์นาถสุภา. (2551). ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน
จ�ำกัด สามลดา.
พระราชวรมุนี(ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2540). ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (พิมพ์ครั้ง
ที่ 3). กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ศยาม.
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2551). สายธารประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: บริษัท พี. เพรส จ�ำกัด.
สุพจน์บุญวิเศษ. (2551). หลักรัฐศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เอ็ม.
ที.เพรส.
ประยงค์สุวรรณบุบผา. (2534).รัฐปรัชญาแนวคิดตะวันออก-ตะวันตกPoliticalPhilosophy
Eastern and Western Thought. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์.
ธงชัย วินิจจะกุลและธ�ำรงศักดิ์เพชรเลิศอนันต์. (2557). ประชาธิปไตยไทย. ใน ประชาธิป’ไทย
พิมพ์ครั้งที่ 3. เป็นเอก รัตนเรือง, ภาสกร ประมูลวงศ์และ ชานันท์ยอดหงษ์ (ผู้เรียบ
เรียง). นนทบุรี: โรงพิมพ์มติชน ปากเกร็ด.
เอกวิทย์มณีธร. (2554). รัฐศาสตร์Political Science (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ห้าง หุ้น
ส่วนจ�ำกัด เอ็ม ที-เพรส.
Gupta O.P. (1977). Ancient and Modern Political Thought. Meerut: KedarNath
Ran Nath.
Suthep intalks withPrayuth‘since2010. (2557).ค้นเมื่อวันที่13 มิถุนายน พ.ศ.2557,
จาก https://www.bangkokpost.com/news/politics/416810/suthep-in-talkswith-prayuth-since2010-
Jirachok Wirasai. (2000). Political Sociology. Bangkok: Ramkhamhaeng University
Press.
Jumphon Nimphanit. (2008). Leader, Power and Politics in Organization. (3rd
Edition). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat University.
Chutthip Nartsapha. (2008). Economics Droctrines. (8thEdition). Bangkok: Sam
Lada Co., Ltd.
Praratchaworramuni (PrayoonThummajittho). (1997). GreekPhilosophy: Western
Wisdom Origin. (3rd Edition). Bangkok: Siam Publishing.
Suthachai Yamprasoet. (2008). Thai Democracy History. (2nd Edition ). Bangkok:
P. Press.
Suphot Boonwiset. (2008). Political ScienceDiscipline. (2ndEdition). Bangkok: M.T.
Press.
Prayong Suwannabuppha. (1991). Political Philosophy Eastern and Western
Thought. Bangkok: Saksopa Printing.
Thongchai Winitjakul & Thumrongsak Phetloetanun. (2014) Thai Democracy. In
Thai Democracy (3rdEdition). Penek Ruttanaruang, Patsakorn Pramoonwong
& Chanun Yodhong (Writers). Nonthaburi: Matichon Publishing House.
Ekkawit Manithorn. (2011).PoliticalScience(3rd edit.).Bangkok: M.T.PressCo.,Ltd.
Gupta O.P. (1977). Ancient and Modern Political Thought. Meerut: KedarNath
Ran Nath.
Suthep in talks with Prayuth ‘since 2010. (2014). Retried March, 2014 13, from
https://www.bangkokpost.com/news/politics/416810/suthep-in-talks-withprayuth-since2010-