ศึกษาเชิงสำารวจและอนุรักษ์แหล่งโบราณคดี ทางพระพุทธศาสนา จังหวัดหนองคาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
รายงานการวิจัยเร่ืองน้ีมีวัตถุประสงค์ (1) เพ่ือศึกษาประวัติความเป็นมาความเช่ือ และพธิกีรรมของแหลง่โบราณคดทีางพระพทุธศาสนา จงัหวดัหนองคาย (2) เพอื่ศกึษาแนวทาง การอนุรักษ์แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดหนองคาย (3) เพ่ือศึกษาวิเคราะห์ แนวทางการพัฒนาแหล่งโบราณคดีทางพระพทุธศาสนาในจังหวัดหนองคายให้เปน็แหล่งเทย่ีว เชิงวัฒนธรรม แหล่งข้อมูลการวิจัย ได้แก่ (1) เอกสารและหลักฐาน (2) บุคคลท่ีเก่ียวกับ การดแูลรกัษาสถานโบราณและศาสนวตัถทุางพระพทุธศาสนา จงัหวดัหนองคาย จ�านวน 20 คน ซงึ่เปน็การสมุ่ตวัอยา่งแบบเจาะจง เครอื่งมอืทใี่ชใ้นการเกบ็ ประกอบดว้ย การวเิคราะหเ์อกสาร และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลในคร้ังน้ีใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหาจากเอกสารและ หลักฐาน นอกจากน้ันยังใช้วิธีการวิเคราะห์แบบอุปนัย (Inductive Analysis) ผลการวิจัย ไดน้�าเสนอ 1) ประวตัคิวามเปน็มาของแหลง่โบราณคดทีางพระพทุธศาสนาในจงัหวดัหนองคาย ท้ัง 5 กรณีได้แก่ (1) ประวัติหลวงพ่อพระใส วัดโพธ์ิชัย (2) ประวัติพระธาตุหล้าหนอง วัดพระธาตุ (3) ประวัติพระธาตุบังพวน วัดพระธาตุบังพวน (4) ประวัติพระองค์ตื้อ วัดศรีชมพู องค์ต้ือ (5) ประวัติพระธาตุโพนจิกเวียงงัว 2) พิธีกรรมท่ีเก่ียวข้องกับแหล่งโบราณคดี ทางพระพุทธศาสนาท้ัง 5 กรณีมีท้ังเก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนาและความเช่ือและพิธีกรรม ท้องถ่ิน ส่วนแนวทางการอนุรักษ์ พบว่า แหล่งโบราณคดีมีปัญหาในเร่ืองโครงสร้าง เพราะ ความเช่ือท่ีผิด การอนุรักษ์จึงต้องด�าเนินการ 2 แนวทาง คือ อนุรักษ์ตัวโครงสร้าง และ ความเชื่อและพิธีกรรมท้องถิ่น 3) แนวทางของการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ใช้กรอบแนวคิดสร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์แหล่งโบราณคดี การสร้างงานแก่คนท้องถ่ิน
โดยการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งรัฐ และเอกชน
Article Details
References
Buddhism on Thai society. (M.A. Thesis, Mahachulalongkornrajavidyalaya University).
Phradhammarajanuvat. (1987). Uranka Nitana. (10th edit.). Bangkok: Nilnara Publishing.
Phramaha Manit Buntitasevi. (2004). The history of Luang Por Ong Tue. Nongkai: Srichompoo Ong Tue Temple.
Phra Ariyanuvat Khemejari. (1985). Doctrines of Belief in I-San. Bangkok:
Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Pinit Jarisombat. (1997). Nong Khai for People in Nong Khai. Bangkok: Dragon Publising.
Srisak Vallipodom. (1993). The sources of I-san Civilization. Bangkok: Matichon.
Sawing Boonjerm. (2006). I-San Heritage. (20th edit.). Ubon Ratchathani: I-San Heritage Press.
Department of Public Works and Town & Country Planning in Nong Khai. (n.d.). Lah Nong Pagoda Construction Project. (Copied document).