การพัฒนาศิลปะการแสดงรำาวงย้อนยุคแถบลุ่มนำ้าโขง

Main Article Content

พลวัฒน์ โตสารเดช
เบญจวรรณ วงษาวดี
ศิริเพ็ญ อัตไพบูลย์

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจยัเร่ือง การพัฒนาศิลปะการแสดงร�าวงย้อนยุคแถบลุ่มน้�าโขงมีจดุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาประวัติความเป็นมา องค์ประกอบ บทบาทและคุณค่าของร�าวงย้อนยุค 2) เพ่ือพัฒนาศิลปะการแสดงร�าวงย้อนยุค พ้ืนท่ีศึกษาเป็นกลุ่มชาวบ้านท่ีมีความรู้ในเร่ือง ร�าวงย้อนยุค อ�าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี และกลุ่มชาวบ้านก็ยังคงมีการรักษา การแสดงร�าวงย้อนยุคและสืบทอดวัฒนธรรมเดิมไว้ โดยถือปฏิบัติในงานประเพณีบุญต่าง ๆ มาจนถึงปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า 1) ร�าวงย้อนยุคของชาวอ�าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี เป็นการร�าวงเพื่อความสนุกสนานได้ผ่อนคลายความเหนื่อยล้าความทุกข์ยาก เมื่อเสร็จสิ้นภาระหน้าที่การงาน การจัดการแสดงร�าวงย้อนยุคยังคงเป็นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่ม ชาติพันธุ์ไทยลาวท่ีมีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาเป็นเวลาอันยาวนาน ซ่ึงหน่วยงานราชการ ในพ้ืนท่ียังคงให้การสนับสนุนการแสดงร�าวงย้อนยุคน้ีเป็นอย่างดี บทบาทหน้าท่ีของร�าวง ย้อนยุคด้านสังคม/วัฒนธรรม/ประเพณี ของชาวอ�าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี สะท้อนให้เห็นถึงความศรัทธา ความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ เป็นกฎระเบียบทางสังคม ถือปฏิบัติต่อกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษ เม่ือพิจารณาอย่างลึกซ้ึงถึงข้ันตอนการแสดงร�าวงย้อนยุค จะเห็นได้ว่าการแสดงนี้ได้รวบรวมเอาลักษณะทางวัฒนธรรมประเพณีหลาย ๆ อย่างไว้ด้วยกัน จึงถือได้ว่าการแสดงน้ีเป็นศูนย์รวมวัฒนธรรมประเพณีท่ีบ่งช้ีถึงอัตลักษณ์ของชุมชน และ ชาวบ้านอ�าเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ยังคงรักษาการแสดงร�าวงย้อนยุคท่ีมีมา แต่โบราณไว้อย่างเหนียวแน่น 2) ผลจากการศึกษาวิจัยสามารถน�าองค์ความรู้ท่ีได้รับ และน�าไปพัฒนาเป็นศิลปะการแสดงเพ่ือสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตและข้ันตอนการแสดงร�าวง ย้อนยุค ของอ�าเภอพิบูลมังสาหารโดยสอดแทรกองค์ความรู้ของร�าวงย้อนยุค การออกแบบ ท่าร�า การแต่งกาย และดนตรีในแนวคิดอนุรักษ์บูรณาการกับศิลปะ อิงจากอัตลักษณ์ร่วมภมูปิญัญาชาวบา้นของกลมุ่ชาตพินัธไ์ุทยลาวในจงัหวดัอบุลราชธานี เพลงทใี่ชป้ระกอบการร�าวง มีเพลงใจชายใจหญิง จังหวะบิกิน เพลงรักจางท่ีบางปะกง จังหวะชะชะช่า เพลงคิดถึงอุบล จังหวะตะลุง เพลงจ๊ะเอ๋ จังหวะม้าย่อง เพลงกุหลาบปากซัน จังหวะร�าวงลาวการน�าเสนอ เป็นแบบร�าวงย้อนยุคสมัยใหม่ โดยการประยุคต์ท่าร�า ท่าเต้น มาจากลีลาท่าทางในการแสดง ร�าวงย้อนยุค และเติมความอ่อนช้อยเพ่ือจะให้ท่าร�าและท่าเต้นมีความสวยงาม สนุกสนาน
มคีวามหมายมากขนึ้ นอกจากนยี้งัใชด้นตรสีากลทที่นัสมยั และดนตรพีนื้บา้น ประกอบการแสดง เพื่อให้สื่อถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาวอ�าเภอพิบูลมังสาหารได้อย่างชัดเจน 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Kasak Tekhanmag. (1998). Proposed Process Models of Civil Society Development for Provincial Cultural Councils. (Master’s Thesis, Chulalongkorn University).
Pongchai Thaiwannasri. (1986). Literature from Sunthraporn Songs. Master’s Thesis. (Ethnomusicology) Bangkok, The Graduate School of Srinakharinwirot University.
Printed document Phunthipha Singhustit. (1996). Phayuha Khiri Folk Dance in Nakhon Sawan Province. Master’s Thesis. Arts (Thai Dance) Chulalongkorn University)
Lerpong Kunha. (2011). Local song : a case study of donka folk song, Tambon Donka, Tatako District, Nakhonsawan Province. (Master’s Thesis of Fine Arts in Ethnomusicology). Bangkok: The Graduate School of Srinakharinwirot University)
Sompong Kanjanaphalin. (1996). Thai Music, Notes and Exercising. (2nd Edition). Bangkok: Ton Aor Grammy., Co., Ltd Bunditpatanasilpa Institute. (2007). The study of Ramwong Wien Kroc (Thai Traditional Retro Dancing). The project of cultural heritage network.