วิถีอโศกกับความมั่นคงทางเศรษฐกิจ : กรณีศึกษาชุมชนราชธานีอโศก ต�าบลบุ่งไหม อ�าเภอวารินช�าราบ จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

อนงนาฏ ชูกลิ่น
จิตรกร โพธิ์งาม

บทคัดย่อ

การวิจัยในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) เพ่ือศึกษาหลักการและความคิด ของวิถีอโศก พุทธปรัชญาแห่งความพอเพียงรวมท้ังแนวคิดเก่ียวกับความม่ันคงทางเศรษฐกิจ ของชุมชนราชธานีอโศก 2) เพื่อศึกษาวิธีการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชุมชนราชธานี อโศก 3) เพ่ือศึกษาวิธีการบริหารความเส่ียงและความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจของชุมชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ามกลางภาวะโลกร้อนเพ่ือน�าไปประยุกต์ใช้ในชุมชนอ่ืน ๆ ต่อไป พ้ืนท่ี กรณีศึกษาคือหมู่บ้านในชุมชนบุญนิยมราชธานีอโศก ต�าบลบุ่งไหม อ�าเภอวารินช�าราบ จังหวัด อุบลราชธานี วิธีวิทยาเป็นแนววิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แนวการตีความเชิงวิพากษ์ เคร่ืองมือ ท่ีใช้คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก ซ่ึงมีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจ�านวน 16 ท่าน โดยแบ่งเป็นสมาชิกชุมชน 7 ท่าน ผู้น�าชุมชน 3 ท่าน และนักวิชาการ 6 ท่าน รวมถึงการสังเกตการและการศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุมชนราชธานีอโศกเป็นชุมชนท่ีพ่อครูสมณะโพธิรักษ์ต้ังใจจะให้เป็นตัวแบบของ เศรษฐกิจชุมชนแนวใหม่ท่ีมีพุทธธรรมเป็นตัวก�ากับต้ังแต่ พ.ศ. 2539 ชุมชนน้ีได้พัฒนา อยู่บนพ้ืนฐานของพุทธปรัชญาแห่งความพอเพียงผสมผสานแนวคิดแบบบุญนิยมและ สาธารณโภคี นั่นคือวิถีอโศกที่ท�าให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 2. ในภาคปฏบิตัชิมุชนนเี้นน้การสรา้งความมนั่คงในการด�ารงชพีอยา่งยงั่ยนืโดยการสรา้ง กจิกรรมชมุชนทหี่ลากหลายคลอบคลมุหลายมติทิเี่ชอื่มโยงกนัอยา่งเปน็องคร์วมตงั้แตเ่ศรษฐกจิ การผลิตอาหารและโภชนาการ สวัสดิการสังคม ส่ิงแวดล้อมพลังงาน การศึกษา สุขภาพและ อนามัยไปจนถึงการสร้างเครือข่ายสังคมที่เกี่ยวโยงกันระหว่างชุมชนอโศกด้วยกัน แนวทาง ของชุมชนราชธานีอโศกได้ให้ข้อสรุปว่า ถ้าจะให้ชุมชนมีความม่ันคงจะต้องให้ความส�าคัญ แก่เรื่องความมั่นคงในการด�ารงชีพอย่างพอเพียงและยั่งยืนในเขตชนบทโดยมีหลักปฏิบัติ ของการพึ่งตนเองเป็นพื้นฐาน
3. วิถีอโศกสามารถเป็นพื้นฐานส�าคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ชุมชนได้ท่ามกลาง วิกฤตการณ์ในอดีตชาวชุมชนราชธานีอโศกสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างดี แต่ในอนาคต ทา่มกลางภาวะโลกรอ้นทรี่นุแรง ชมุชนจะตอ้งรเิรมิ่สรา้งระบบการบรหิารจดัการความเสยี่งและ ความไมแ่นน่อนขนึ้มา เพอื่พทิกัษร์กัษาความมนั่คงของชมุชน นอกจากนนั้ควรมแีนวคดิเกยี่วกบั ความคงทนเข้ามาผสมผสานด้วยเครื่องมือส�าคัญ คือ การสร้างระบบท้องถิ่นแบบใหม่ที่เรียกว่า “ระบบการบริหารจัดการความเส่ียง เพ่ือความคงทนทางนิเวศ” และชาวชุมชนราชธานีอโศก เท่านั้นที่จะต้องร่างออกแบบระบบนี้ด้วยตนเอง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Bhodhiraksa, Ven. Bhikkhu. (2007). Buddhist Way in the age of Sufficiency
Economy. Bangkok: n.p.
________. (2007). Publicity. Bangkok: n.p.
________. (2009). Sufficiency in Buddhism. Bangkok: n.p.
Buddhadhasa Bhikku. (2006). Buddhist Economy. Bangkok: n.p.
Luang Pradit Manutham (Pridi Banomyong). (1999). Project of economic
development, Bangkok: n.p.,
Naydezai (2009). Self-reliance concept of Mahatma Gandhi. Nakhon Pathom: Institute of ASIA Language and Culture Studies, Mahidol University. Piampongsarn, P. and others. (2016). Green Economy Community Research Report on Climate Change: A case study of community in Eastern region. Bangkok: Thailand Research Fund.
Piempongsarn, P. (2012). Demolition of Development. Bangkok: Political
Economy Group, Bureau of East Asia: n.p.
Piempongsarn, P. (2014). Political economics and critical social theory.
Department of Public Administration, Khon Kaen University.
Schumacher E.F” (1973). Small Is Beautiful : A Study of Economics As If People Mattered. New York: Harper.
UNDP. (2009). Thailand Human Development Report 2009, Human Security- Today and Tomorrow. Bangkok: UNDP.