การพัฒนาทักษะการบรรเลงเดี่ยวสำาหรับเครื่องลมทองเหลือง ของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

Main Article Content

ดิฐพงษ์ อุเทศธำรง

บทคัดย่อ

การแสดงดนตรีท่ีประสบความส�าเร็จ นักดนตรีต้องมีการวางแผนเพ่ือเตรียมตัว ทงั้ทางดา้นรา่งกายและดา้นจติใจใหก้ารแสดงมคีวามสมบรูณท์สี่ดุ เมอื่นกัดนตรมีกีารเตรยีมตวั ฝึกซ้อมท่ีถูกต้องจะท�าให้เกิดความเข้าใจและสมารถควบคุมเทคนิคการบรรเลงเคร่ืองดนตรี ช่วยลดความประหม่าและตื่นเวที การศึกษาค้นคว้าวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการบรรเลง เด่ียวส�าหรับเคร่ืองลมทองเหลือง ของนักศึกษาหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาทักษะการบรรเลงเดี่ยวส�าหรับเครื่องลมทองเหลือง 2) เพอื่หาประสทิธภิาพของรปูแบบการพฒันาทกัษะการบรรเลงเดยี่วส�าหรบัเครอื่งลมทองเหลอืง 3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการพัฒนาทักษะการบรรเลงเด่ียวส�าหรับเคร่ืองลม ทองเหลอืง ประชากรและกลมุ่ตวัอยา่ง คอื นกัศกึษาทลี่งทะเบยีนเรยีนรายวชิาปฏบิตัเิครอื่งลม ทองเหลือง จ�านวน 5 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือ ในการวิจัย ได้แก่ บทประพันธ์การบรรเลงเดี่ยวส�าหรับเครื่องลมทองเหลือง จ�านวน 5 บทเพลง รปูแบบการพฒันาทกัษะการบรรเลงเดยี่วส�าหรบัเครอื่งลมทองเหลอืง แบบสงัเกต แบบประเมนิ ทักษะ และแบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1. คณุภาพของรปูแบบการพฒันาทกัษะการบรรเลงเดยี่วส�าหรบัเครอื่งลมทองเหลอืง และผู้วิจัยได้หาค่าความสอดคล้อง (IOC) ของผู้เช่ียวชาญท้ัง 3 ท่าน คะแนนความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญมีความสอดคล้อง (IOC) ที่ได้ คือ 0.89 สามารถใช้ได้ โดยผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะ เพ่ิมเติมว่า ควรเพ่ิมเติมหัวข้อเก่ียวกับการแสวงหาศิลปินต้นแบบและผู้เช่ียวชาญในด้านการ บรรเลงเดี่ยวเครื่องดนตรี 2. ความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญต่อรูปแบบการพัฒนาทักษะการบรรเลงเดี่ยว ส�าหรับเคร่ืองลมทองเหลือง พบว่า ความพึงพอใจของผู้เช่ียวชาญต่อรูปแบบพัฒนาทักษะ การบรรเลงเด่ียวส�าหรับเคร่ืองลมทองเหลือง โดยรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด (X _ = 4.63) ผเู้ชยี่วชาญเสนอแนะใหม้ตีวัอยา่งแนวทางการวเิคราะหบ์ทเพลง เพมิ่รายละเอยีดในเรอื่งตวัอยา่ง ของเทคนิคในการบรรเลงในแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน และเพ่ิมรายละเอียดเก่ียวกับการเตรียมตัว และจัดการแสดงหรือขึ้นบรรเลงบนเวทีการแสดง 3. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อรูปแบบการพัฒนาทักษะการบรรเลงเด่ียว ส�าหรับเคร่ืองลมทองเหลือง พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อรูปแบบการพัฒนาทักษะ การบรรเลงเด่ียวส�าหรับเคร่ืองลมทองเหลือง โดยรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด (X _ = 4.56) รปูแบบทพี่ฒันาขนึ้มคีวามเหมาะสมกบัการวางแผนการฝกึปฏบิตักิารบรรเลงเดยี่วของเครอื่งลม ทองเหลือง เพราะผู้ฝึกปฏิบัติจะได้มีแผนล่วงหน้าเกี่ยวกับการฝึกของตนเอง การวิเคราะห์ บทเพลง การฝึกซ้อมที่ถูกวิธี และการเตรียมตัวก่อนการแสดง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Apichat Liamthong. (2012). The main principles for utmost effective musical practice. Rangsit Music Journal, 7(1), p. 29-30.
Johann Sebastian Bach’s Composition. Master’s Thesis, Music Major, Payap University, Chiangmai.
Lertkiat Jongjirajit. (2011). The study on a significant trumpet song. Independent study, Music Program in Music Research and Development, Silpakorn University, Bangkok.
Music Major. (2011). Bachelor of Arts, Music Major, (improved curriculum B.E. 2554). Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani Rajabhat University
Pawalai Tanchaitharapong. (2012). Self-confidence encouragement for soloist. Rangsit Music Journal, 7(1), P.40 – 47.
Varanya Seevarabuth. (2011). The Development of Trill Exercises for Piano Music by
Wiroj Srisununrat. (2011). The interpretation and exercise for trumpet music by Torell, Martinu, Gibbons, Hansen Ropartz. Independent study of Master’s degree of Music Program in Music Research and Development, Silpakorn University, Bangkok.