การศึกษาความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ในการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ของกลุ่มอาชีพท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ กรณีศึกษาชุมชนบ้านซะซอม อำาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

พิกุล สายดวง
ชญาณ์นันท์ ปิติกรพวงเพชร

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ส�ารวจสภาพการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ของนักท่องเท่ียว เชิงอนุรักษ์ ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดอุบลราชธานี และ 2) ศึกษาความต้องการ ในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือใช้ในการส่ือสารเชิงอนุรักษ์ ของกลุ่มอาชีพท่องเท่ียวแบบโฮมสเตย์ ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดอุบลราชธานี งานวิจัยคร้ังน้ีเป็นงานวิจัยแบบผสม (Mix Method) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล (Key Informants) คือ กลุ่มอาชีพท่องเท่ียวแบบโฮมสเตย์ ในเขตพ้ืนท่ี จังหวัดอุบลราชธานี โดยการเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังน้ี ได้แก่ แบบสมัภาษณเ์ชงิลกึ (In depth Interview) แบบบนัทกึการสงัเกตอยา่งมสีว่นรว่ม (Participant Observation) แบบบันทึกการสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่วม (Non Participant Observation) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus group Discussion) และ แบบสอบถามความต้องการ ในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร โดยน�าข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสรุปผลด้วยการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า สภาพการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ของนกัทอ่งเทยี่วทเี่กดิกบักลมุ่อาชพีทอ่งเทยี่วแบบโฮมสเตยย์งัมปีญัหาในหลายดา้น โดยเฉพาะ ดา้นการสอื่สารพบวา่เมอื่กลมุ่อาชพีทอ่งเทยี่วแบบโฮมสเตยส์อื่สารกบันกัทอ่งเทยี่วชาวตา่งชาติ แตน่กัทอ่งเทยี่วกลบัไมเ่ขา้ใจภาษาองักฤษทกี่ลมุ่อาชพีทอ่งเทยี่วแบบโฮมสเตยส์อื่สาร ท�าใหเ้กดิ ความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน นักท่องเที่ยวพูดรัวและเร็วเกินไป ท�าให้ฟังยาก จับใจความไม่ได้ ส่วนปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติในการใช้บริการ พบว่า ส�าเนียงหรือโทนเสียง ท่ีใช้ในการส่ือสารของกลุ่มอาชีพท่องเท่ียวแบบโฮมสเตย์ ยังไม่มีความเป็นธรรมชาติ เหมือนเจ้าของภาษาท�าให้ยากในการท�าความเข้าใจ บางคร้ังค�าศัพท์หรือประโยคท่ีกลุ่ม อาชีพท่องเท่ียวแบบโฮมสเตย์ส่ือสารยากในการท�าความเข้าใจ เพราะเป็นค�าศัพท์ท่ีเกิดจาก ภูมิปัญญาชาวบ้านและเป็นค�าศัพท์เฉพาะถิ่น โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเสนอแนะว่า ควรมีการจัดท�าคู่มืออธิบายค�าศัพท์ ประโยคและมีรูปภาพประกอบในกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือใช้ ในการอธิบายกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนในชุมชน โดยควรจัดท�าเอกสารส�าหรับชาวต่างชาติด้วย เพ่ือจะได้น�าไปศึกษาก่อนท�ากิจกรรมร่วมกันกับชุมชน นอกจากน้ีควรมีผู้เช่ียวชาญเข้ามา ให้ความช่วยเหลือในการฝึกฝนทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษให้กับเยาวชนและคนในชุมชน อย่างสม่�าเสมอเน่ืองจากมีรูปแบบท่ีเฉพาะเจาะจงจึงต้องอาศัยทักษะและการฝึกฝน เป็นเวลานานจึงจะเกิดความช�านาญ นอกจากนี้กลุ่มอาชีพท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ ในเขตพื้นที่ จงัหวดัอบุลราชธานี ยงัตอ้งการพฒันาทกัษะการสอื่สารภาษาองักฤษดา้นการพดู เพอื่ใหส้ามารถ โตต้อบ ตอบค�าถาม ใหข้อ้มลูนกัทอ่งเทยี่วชาวตา่งชาติ โดยมสีาเหตมุาจากขาดทกัษะทางภาษา
ส่วนด้านข้อมูลค�าศัพท์ท่ีผู้ให้บริการมีความต้องการใช้ในส่ือสารภาษาอังกฤษแยกตาม หมวดค�าศัพท์ที่ต้องการใช้ในการสื่อสาร พบว่า การให้ค�าแนะน�า เสนอแนะ และ หมวดอาหาร เป็นประเด็นที่ต้องการน�ามาพัฒนาตนเองมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Boonlert Jitthungwutthana. (2009). Tourism Industry. Bangkok: Press & Design.
______. (2011). To Promote Eco-Tourism Together. Bangkok: Press & Design.
Charl E Ossgute. (2001). Self – directed learning model: SSDL. Massachusetts: Addison Wesley Publishing Company.
Charl E Ossgute. (2001). Self – directed learning model : SSDL. Massachusetts: Addison Wesley Publishing Company.
Jurgen Ruesch and Gregory Bateson. (1999). Cooperative Learning and the
Cooperative School. Educational Leadership. 45, 7-13.
Parama Sathawethin. (2049). Certification of Status as a Community Organization and Community Organization Network. Bangkok: Community Development Institute.
Sakchay Sickha. (2012). Study of Local Identities to Create Cloth Patterns Mekong River Side. Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani University.
Strategy of National Tourism Research. (2012). Policies and Strategies of National Research 2012-2016: National Research Council of Thailand. Retrieved on 4 December 2015, from https://www1.nrct.go.th/index.php?mod= contents&req=view&id=1402
Tourism Authority of Thailand. (2015). Thai Tourism Strategy B.E. 2015-2017. Retrieved on 4 December 2015, from https://www.mots.go.th/ewt_dl_link. php?nid=7114
Unchali Athipat. (2510). Self-Learning in Using English for Communication of Ecotourism in Tambon Tha Kha, Amphawa, Samut Songkhram. Fund: Suan Sunandha Rajabhat University
Waren W Viver (1999). Participation and Organizational Behavior. Boston:
Pearson Education.
Yorch A Miller. (1998). Communication: The Social Matrix of Psychiatry. Journal of Reading Behavior. 12, 17-29.