การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ไม้พุงสู่การตระหนักและสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษาชุมชนในอำาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

ชลชญา ศรไชย
สุพัตรา โพธิสาร
พิกุล สายดวง

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาประวัติความเป็นมา การบริหารจัดการ กระบวนการผลิต การจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์จากไม้พุงของชุมชนในอ�าเภอบุณฑริก จังหวัด อุบลราชธานี และ 2) หาแนวทางในการอนุรักษ์ไม้พุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในอ�าเภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล (Key Informants) คือ กลุ่มแม่บ้านสานหวด ในชุมชนในอ�าเภอบุณฑริก โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Interview) แบบบันทึกการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม (Participant Observation) แบบบันทึกการสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่วม (Non Participant Observation) แบบบันทึก การสนทนากลุ่ม (Focus group Discussion) และแบบบันทึกเวทีแลกเปล่ียนความคิดเห็น (เวทคีนืขอ้มลูสชู่มุชน) โดยน�าขอ้มลูมาสรปุผลเชงิบรรยาย ผลการวจิยัพบวา่ ประวตัคิวามเปน็มา การบริหารจัดการ กระบวนการผลิต การจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์จากไม้พุงของชุมชนในอ�าเภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นกิจกรรมท่ีสมาชิกในชุมชนและกลุ่มองค์กรท้ังในและนอก ชุมชน ร่วมกันด�าเนินกิจกรรม จากการศึกษาประวัติความเป็นมาของกลุ่มสานหวด พบว่า ชาวบ้านมีภูมิปัญญาในการสานไม้ไผ่มาเป็นเวลานาน ท้ังการสานกระติบใส่ข้าวเหนียว หวด ไซ และตะกร้า รูปแบบการสานอยู่ในแบบเดิม ๆ จากน้ันมีหน่วยงานรัฐเข้ามาให้การสนับสนุน พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์งานสานให้เป็นท่ีน่าสนใจย่ิงข้ึน เกษตรกรบ้านแสงอุดมได้รวมตัวกัน ก่อต้ังกลุ่มแม่บ้านสานหวดบ้านแสงอุดมข้ึน ปัจจุบันมีสมาชิกจ�านวน 38 คน มีการสานหวด 3 รูปแบบ คือ แบบหยาบ แบบลวดลาย และแบบตอกเล็ก มีรายได้เดือนละ 1,000-4,000 บาท มีระบบการบริหารจัดการกลุ่มและมีการต้ังกฎกติการ่วมกัน โดยกลุ่มอาชีพสานหวด บ้านแสงอุดมมีการสรรหาบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถ และเป็นท่ีเช่ือถือของสมาชิก การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาประวัติความเป็นมา การบริหารจัดการ กระบวนการผลิต การจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์จากไม้พุงของชุมชนในอ�าเภอบุณฑริก จังหวัด อุบลราชธานี และ 2) หาแนวทางในการอนุรักษ์ไม้พุง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในอ�าเภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล (Key Informants) คือ กลุ่มแม่บ้านสานหวด ในชุมชนในอ�าเภอบุณฑริก โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Interview) แบบบันทึกการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม (Participant Observation) แบบบันทึกการสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่วม (Non Participant Observation) แบบบันทึก การสนทนากลุ่ม (Focus group Discussion) และแบบบันทึกเวทีแลกเปล่ียนความคิดเห็น (เวทคีนืขอ้มลูสชู่มุชน) โดยน�าขอ้มลูมาสรปุผลเชงิบรรยาย ผลการวจิยัพบวา่ ประวตัคิวามเปน็มา การบริหารจัดการ กระบวนการผลิต การจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์จากไม้พุงของชุมชนในอ�าเภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นกิจกรรมท่ีสมาชิกในชุมชนและกลุ่มองค์กรท้ังในและนอก ชุมชน ร่วมกันด�าเนินกิจกรรม จากการศึกษาประวัติความเป็นมาของกลุ่มสานหวด พบว่า ชาวบ้านมีภูมิปัญญาในการสานไม้ไผ่มาเป็นเวลานาน ท้ังการสานกระติบใส่ข้าวเหนียว หวด ไซ และตะกร้า รูปแบบการสานอยู่ในแบบเดิม ๆ จากน้ันมีหน่วยงานรัฐเข้ามาให้การสนับสนุน พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์งานสานให้เป็นท่ีน่าสนใจย่ิงข้ึน เกษตรกรบ้านแสงอุดมได้รวมตัวกัน ก่อต้ังกลุ่มแม่บ้านสานหวดบ้านแสงอุดมข้ึน ปัจจุบันมีสมาชิกจ�านวน 38 คน มีการสานหวด 3 รูปแบบ คือ แบบหยาบ แบบลวดลาย และแบบตอกเล็ก มีรายได้เดือนละ 1,000-4,000 บาท มีระบบการบริหารจัดการกลุ่มและมีการต้ังกฎกติการ่วมกัน โดยกลุ่มอาชีพสานหวด บ้านแสงอุดมมีการสรรหาบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถ และเป็นท่ีเช่ือถือของสมาชิก  คณะกรรมการบริหารกลุ่มแต่ละต�าแหน่ง แต่ละฝ่ายได้แก่ คณะกรรมการอ�านวยการ  คณะกรรมการฝ่ายการตลาด คณะกรรมการฝ่ายควบคุมภาพการผลิต คณะกรรมการ ฝ่ายสรรหาและคณะกรรมการฝ่ายส่งเสริม ในด้านกระบวนการผลิต มีวัสดุ อุปกรณ์ ได้แก่ ไม้ไผ่พุง มีดปลายแหลม (ส�าหรับจักตอก) น�้า มีดโต้ ส�าหรับตัดล�าต้น เลื่อย กรรไกร ลวดลาย ของหวดไม้ไผ่ของกลุ่มแม่บ้านสานหวด มี 3 ลาย ได้แก่ ลายเปหรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า หวดขาว ลายแคง ลายหม่ี โดยมีข้ันตอนการสาน ดังน้ี การคัดเลือกไม้ไผ่พุง การตัดไม้ไผ่ ให้เป็นท่อน ๆ การลนไฟ การผ่าไม้ไผ่เป็นซีก การฉีกตอก การก่อตัวหวด การไป่หวด การใส่ลาย ตัวหวด การใส่ไพกาวหวด การม้วนหวด และการรวมหวด ในการจ�าหน่าย การก�าหนดราคา ผลิตภัณฑ์ และการวางแผนการจ�าหน่ายน้ัน สมาชิกกลุ่มจะมีการศึกษาและวางแผน ด้านการตลาดอยู่เสมอ เพ่ือเปรียบเทียบการก�าหนดราคาของพ่อค้าคนกลางว่ายุติธรรม กับกลุ่มหรือไม่ เม่ือถึงวันจันทร์และวันศุกร์ของแต่ละสัปดาห์สมาชิกจะน�าหวดมาจ�าหน่าย ณ ท่ีท�าการกลุ่ม คณะกรรมการจะท�าหน้าท่ีตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์หวดทุกใบ ก่อนท่ีจะรับซ้ือหวดจากสมาชิก หลังจากน้ันจะมัดรวมกันเพ่ือรอให้พ่อค้าคนกลางหรือ กลมุ่ลกูคา้ผสู้นใจมารบัซอื้ตอ่ไป ดา้นแนวทางในการอนรุกัษไ์มพ้งุ โดยการมสีว่นรว่มของชมุชน ในอ�าเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานีน้ัน ชุมชนได้มีการประสานงานกับเกษตรอ�าเภอ ในการขอต้นกล้าไม้พุงมาทดลองปลูกในพ้ืนท่ีของหมู่บ้านและบริเวณป่าชุมชน นอกจากน้ี ทางกลุ่มยังได้เสนอให้มีการสร้างส่ือการอนุรักษ์ไม้พุง โดยเป็นส่ือแผ่นพับเพ่ือให้นักเรียน ในชุมชนหรือผู้ท่ีสนใจได้ทราบถึงวิธีการปลูกไม้พุง ประโยชน์ของไม้พุงเพ่ือการอนุรักษ์ไม้พุง เพื่อเป็นการสร้างความรักและความหวงแหนไม้พุงที่มีในชุมชน 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Bank of Thailand. (2014). Folk Memorial Hall Cloth of Thailand. Her
Majesty Queen Sirikit. Bangkok: Bank of Thailand.
Industrial Development Bureau, Family and Craft. Development Office, Family and Craft. (2015). Industry in Family and Craft. Kalasin: Prasarn Printing.
Kasem Jankeaw. (2012). Sociology. Bangkok: Kasetsart University.
Kawintra Jaisu. (2012). Woven Bamboo Ban Sangudom. Column Livelihood - Woven Bamboo Ban Sangudom Quality Wisdom. Retrieved 16, April 2012 from https://www.komchadluek.net/detail/20120406/127227/html
Somporn Klawichian. (2009). Development of Mudmee Product,
Woven Cotton Fabrics–Silk, Ban Nongpu 24 Moo 1 Nongpu Sub district Mungsuang District Roi Et Province.
(Master of Arts Thesis, Khonkaen University). Sujittra Jongpho. (2007). The Development Potential of the Business
Community: a Case Study of Craft, Ubonratchathani Province. (Thesis Ph.D., Khonkaen University).
Sukchay Sikkha. (2005). The Development of Bamboo Handicrafts in Esan Life’s people. Ubon Ratchathani: Fund of Research and Culture, Ubon Ratchathani University.
Wanrug Mingmanikarn. (2012). Development Rural of Thailand. Bangkok: Thammasat University Publisher.