บทบาทของตำานานและพิธีกรรมเกี่ยวกับผีมเหศักดิ์ ในอำาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี1

Main Article Content

มานิตย์ โศกค้อ
ปฐม หงษ์สุวรรณ

บทคัดย่อ

“โขงเจียม” เป็นอ�าเภอหน่ึงของจังหวัดอุบลราชธานีท่ีต้ังอยู่ในบริเวณพ้ืนท่ีชายแดน ไทย-ลาว มีแม่น้�าโขงเป็นเส้นก้ันเขตแดน ด้วยเหตุท่ีเป็นชุมชนชายแดนท�าให้พ้ืนท่ีโขงเจียม มีความหลากหลาย ทางชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งชาวไทยอีสาน ลาว ชาวบรู ต�านานผีอารักษ์ท่ีเรียกว่า “มเหศักด์ิ” ถือเป็นเร่ืองเล่าศักด์ิสิทธ์ิท่ีมีการเล่าขาน อยา่งกวา้งขวางและ มสีถานทต่ีง้ัของหอผนีอ้ียใู่นเขตชมุชนโขงเจยีมหลายแหง่ดว้ยกนั ต�านาน ผีมเหศักด์ิท่ีท�าหน้าท่ีเป็นเสมือน ผู้ปกป้องคุ้มครองผู้คนและบ้านเมืองท่ีเช่ือถือกันมา เน่ินนาน เร่ืองเล่าศักด์ิสิทธ์ิเหล่าน้ีสามารถสะท้อนให้เห็นระบบความคิด ความเช่ือ โลกทัศน์ และอุดมการณ์ทางสังคมได้ประการหนึ่ง บทความน้ีมีวัตถุประสงค์ (1) เพ่ือศึกษาความหลากหลายของเร่ืองเล่าต�านานมเหศักด์ิ ที่อยู่ในการรับรู้ของชาวบ้านอ�าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (2) เพื่อศึกษาบทบาท และการด�ารงอยู่ของต�านานและพิธีกรรมที่มีต่อชุมชนชาวอ�าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ท้ังน้ีผู้เขียนได้ใช้ข้อมูลต�านานมเหศักด์ิท่ีเก็บรวบรวมในภาคสนามซ่ึงเป็นส�านวนมุขปาฐะ โดยสามารถรวบรวมมาได้ 5 ส�านวน คือ ต�านานนางเพานางแพง, ต�านานเจ้าปู่ตาสุริยวงศ์, ต�านานหลวงปู่ฤๅษีจุลมณี, ต�านานท้าวสินธุ์ชัยและต�านานอะยะอะยอ ต�านานเร่ืองต่าง ๆ เหล่าน้ีล้วนมีบทบาทต่อวิถีชีวิตชาวโขงเจียมท้ังส้ิน จากการศึกษาพบว่าต�านานมเหศักด์ิ ในการรับรู้ของชาวโขงเจียมได้แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมีมิติ ความเช่ืออันแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติและมนุษย์กับอ�านาจ เหนือธรรมชาติ นอกจากน้ี ต�านานเหล่ายังสะท้อนให้เห็นถึงระบบความคิด โลกทัศน์
และอุดมการณ์ทางสังคมในหลากหลายมิติ โดยผู้เขียนสามารถจ�าแนกออกเป็นประเด็น ต่าง ๆ ได้ดังน้ี 1) ต�านานมเหศักด์ิกับการสร้างความสัมพันธ์ข้ามพรมแดนรัฐชาติ 2) ต�านาน มเหศกัดกิ์บัการสรา้งอดุมการณท์างศาสนา 3) ต�านานมเหศกัดกิ์บัการสรา้งพนื้ทที่างสงัคม และ
4) ต�านานมเหศักดิ์กับการสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chareonsinoran, C. (2011). Development Discourse. Bangkok: Wipasa Publicaition.
Ganjanapan, A. (2012). Ancestry And Ancestral Spirits: The Dynamics Of Folk Knowledge, Power And Identity Of Local People. Chiang Mai: Department of Sociology and Anthropology, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University.
Hongsuwan, P. (2013). Longs ago, There was a narrative, story, legend and life. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Hongsuwan, P. (2558). Local Thinking and Constructing of the Folk Bodhisattva In Boon Luang Festival, Dan Sai District, Loei Province. Journal of Humanities and Social Sciences, Ubon Ratchathani Umiversity. 6(1): 1-32.
Kitiarsa, P. (2013). Localism. (2nd edition). Bangkok: Institutional Investigation Fund for Anthropological Research. Mee. (2016, 20 February). Interview. Na Talang, S. (2005). Theory of Folklore, Methodology in Analysis of legends and Folk Tales. Bangkok: Academic dissemination project, Faculty of Arts,
Na Talang, S. (2006). Literary myth: Cultural mechanisms of non-character
ethnic. Bulletin of the Faculty of Arts Chulalongkorn University, 25 (2):
194-212.
______. (2009). Theory of Folklore, Methodology in Analysis of legends and Folk Tales. (2nd edition). Bangkok: Academic dissemination project, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
Paritta Chalermphao Kohanantakul. (2013). The Holy World and the Ordinary World in Social Life. in Paritta Chalermphao Kohanantakul (Editors). Goddess, Grandfather, Gunner Dancer and Other Stories on ritual and dance. Bangkok: Sirindhorn Anthropological Center (Public Organization).
Phra Khru Piphatthanakorn. (2000). The History and Practices of Luang Pu Kham Kaning. (5th edition). Ubon Ratchathani: Ubonkit Offset Printing.
Piya Ven. Bhikkhu. (2016, 15 February). Interview.
Puengpah, GI. (2016, 12 February). Interview.
Rapeepat, A. (2008). Culture is the Meaning: Theory and Methodology of Clifford Geertz. Bangkok: Sirindhorn Anthropological Center (Public Organization).
Richard Jenkins. (1996). Social Identity. London and New York: Routledge.
Stuart Hall. (2002). “Cultural identity and dis\aspora” in Identity and Difference. Ed By Kathayn Woodward. London: sage Publications and Open University.
Vallipodom, S. (2012). The Appropriate local research: local history and museums. In Aparadi