ความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ปัจจัยด้านการเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคม, ปัจจัยด้านสุขอนามัย, ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ, ความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ

Main Article Content

Rapheephan phonginwong

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคม ปัจจัยด้านสุขภาพอนามัย และปัจจัยด้านเศรษฐกิจส่งผลต่อการมีความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์  กลุ่มตัวอย่างแรงงานผู้สูงอายุ 316 คน  การศึกษาใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการทำวิจัยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษาพบว่า การเป็นบุคคลที่มีคุณค่าในสังคม ปัจจัยด้านสุขภาพอนามัย และปัจจัยด้านเศรษฐกิจส่งผลต่อการมีความสุขของแรงงานผู้สูงอายุ การศึกษานี้พบว่าปัจจัยด้านการสุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยที่สำคัญแรงงานผู้สูงอายุดูแลสุขภาพร่างกายและใช้หลักธรรมในการดำรงชีวิตเพื่อลดความเสี่ยงด้านการเจ็บป่วย การวิจัยนี้ทำให้เกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักคิดในการดำเนินชีวิตในสังคมชนบทโดยที่สมาชิกในชุมชนมีอาชีพเกษตรกร มีความสุขในวัยสูงอายุการดำเนินชีวิตโดยการพึ่งตนเองในสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงจากในอดีต


Abstract


This research aims to study factors affecting happiness in elderly workers regarding being society’s valuable person, health and sanitation and economic affair case study of Bann Yang community, Bann Yang Sub-district, Mueang District, Buriram Province. The study is done by distributing questionnaire with purposive sampling of 316 elderly workers using regression analysis. Result showed that being society’s valuable person, health and sanitation and economic affair are factors affecting happiness of elderly workers. The study revealed that health and sanitation is the most important factor that the elderly worker would give most attention especially health of their body and mind as they try to apply Buddhist principle in their living to reduce risk and illness. This study generated the daily application of Sufficiency Economy theory for the happiness of people in the rural areas as they are elderly agricultural workers and being self-reliant in the changing social environment.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง

กิติวงค์ สาสวด. (2560).ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดภาคตะวันออก. วารสารชุมชนวิจัย. (ปีที่
11 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2560). 21- 38.
วิทมา ธรรมเจริญ (2555).อิทธิพลปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในที่มีต่อความสุขของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์
หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์). คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนา
บริหารศาสตร.
วิรดา อรรถเมธากุลและวรรณี ศรีวิลัย. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ตำบลคูบัว
จังหวัด ราชบุรี. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. (ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม - ธันวาคม ปี 2556) :
18-27.
ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2560). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้น 19 สิงหาคม 2562, จาก
http://www.sufficiencyeconomy.org/sufficiency-meaning
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ สิบเอ็ด พ.ศ. 2560- 2564. กรุงเทพฯ. สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ผู้สูงอายุในประเทศไทย. สืบค้น 13 มีนาคม 2562, จาก
http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic004.php.
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านยาง.(2562). ข้อมูลพื้นฐาน. สืบค้น 20 สิงหาคม 2562. จาก
http://www.banyangburiram.go.th/index.php?op=staticcontent&id=10509.
Hair, J.,Black, W. Babin, B. & Anderson, R. (2014).Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey
: Pearson Prentice Hall International, Inc.
Nunnally, Jum C.and Bernstein,Ira H. (1994). Psychometric Theory. New York. McGraw-Hill.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd). New York. Harper and Row
Publications.




Translated Thai References

Bureau of Health Promotion ,Department of Health, Ministry of Public Health. Elderly in
Thailand. Retrieved 13 March2019. http://hp.anamai.moph.go.th/
soongwai/statics/about/ soongwai/ topic004.php
Ban Yang Sub-district Administration Organization. (2019). Data Base. Retrieved 20 August 2019.
http://www.banyangburiram.go.th/index.php?op=staticcontent&id=10509Kitiwong
Hair, J.,Black, W. Babin, B. & Anderson, R. (2014).Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey
: Pearson Prentice Hall International, Inc.
Kitiwong SaSuad. NRRU. (2017). Factors affecting the quality of the elderly in the eastern
province. Community Research Journal. Vol. 11 No. 2 (May-August 2017) : 21-38.
Nunnally, Jum C.and Bernstein,Ira H. (1994). Psychometric Theory. New York. McGraw-Hill.
Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB). (2016).
National Economic and Social Development Plan No. 11(2017-2021). Bangkok, Office of
the Prime Minister
Sufficiency Education Center, Yuwasathirakun Foundation. (2017). Sufficiency economy.Retrieved
21 August 2019 http://www.sufficiencyeconomy.org/sufficiency-meaning
Wirada Atthamaethaku and Wannee Srivilai. (2013).The Infuences of Aging Health in Tumbon
Koobua, Ratchaburi. Journal of Health Science Research. Vol 7 No 2: July-December
2013).
Wittama Thumcharoen. (2012). The Influence of External and Internal factors on Happiness of
the Elderly. Applied Statistic.National Institute of Development Administration.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd). New York. Harper and Row
Publications.