การปฏิวัติของศาสตร์เทคโนโลยีการศึกษาไทยในยุค 4.0
คำสำคัญ:
เทคโนโลยีการศึกษา, เทคโนโลยีทางการเงิน, ดิสรับทีฟ เทคโนโลยี, อุตสาหกรรมทางการศึกษาบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการรวบรวมแนวคิดและบทความวิชาการต่าง ๆ ของผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยกล่าวถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการศึกษาที่มีผลต่อการศึกษา รวมถึงนโยบายประเทศไทย 4.0 ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล โดยเทคโนโลยีการศึกษาได้มีส่วนที่สัมพันธ์กับนโยบายนี้ เพื่อเป็นการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการศึกษาบทความนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มในเชิงบวกสำหรับนักเทคโนโลยีการศึกษาที่จะนำไปใช้ในการวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา นำไปทดลองใช้ และประเมินผล กระบวนการและเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อเพิ่มส่งเสริมการเรียนการสอนและปรับปรุงผลการเรียนรู้
References
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
ฉัตรชัย ธนาฤดี. (มีนาคม-เมษายน 2560). เทคโนโลยีพลิกธุรกิจ...ชี้ชะตาโลก ตอนที่ 1. วารสารวิชาการ For Quality Magazine 23(220), 28-30.
หัทยา ภูดี. (กันยายน 2560). Beyond disruption. นิตยสาร Startup Thailand 3. 4-7.
นิตยสารดิจิทัล เอจ. (2559). MOOCs นวัตกรรม การศึกษา แบบเปิดกว้าง ยุคดิจิทัล. ค้นเมื่อ 16 กันยายน 2560, จาก https://www.digitalagemag.com/moocs-นวัตกรรม-การศึกษา-แบบเปิดกว้าง-ยุคดิจิทัล/
บัญญพนต์ พูนสวัสดิ์. (2559ก). Edtech นวัตกรรม การสอนยุคดิจิทัล. ค้นเมื่อ 13 กันยายน 2560, จาก https://www.digitalagemag.com/edtech-นวัตกรรม-การสอนยุคดิจิทัล
บัญญพนต์ พูนสวัสดิ์. (2559ข). Smart Tech, Smart Country ประเทศไทย 4.0. ค้นเมื่อ 11 กันยายน 2560, จาก https://www.digitalagemag.com/smart-tech-smart-country-ประเทศไทย-4-0/
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2559). ผู้แทนกลุ่ม Edtech จุดประกายความคิดพลิกฟื้นธุรกิจเทคโนโลยีทางการศึกษา สร้างความประทับใจแก่ที่ประชุม. ค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2560, จาก https://www. prachachat.net/news_detail.php?newsid=1468552133
ประยุทธ์ จันทร์โอชา. (2560). คําปาฐกถาพิเศษ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เรื่อง “บทบาทของมหาวิทยาลัยไทยต่อ Thailand 4.0” ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา. ค้นเมื่อ 16 กันยายน 2560, จาก http://www.thaigov.go.th/ news/contents/details/3587
ผู้จัดการออนไลน์. (2559). Brexit: British Exit. ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2560, จาก http://www.manager. co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9590000039270
พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย. (2559). Brexit คืออะไร ทำไมต้องออก?. ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2560, จากhttps://thaipublica.org/2016/05/pipat-46/
โพยม จันทรน้อย. (2560). บทความพิเศษ: การศึกษา 4.0. ค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2561, จาก http://www.manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9600000025195
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. คณะวิทยาการจัดการ. (2561). ไทยแลนด์ 4.0. ค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2561, จาก http://fms.bru.ac.th/wp-content/uploads/2018/02/Dr.preecha.pdf
เรวัต ตันตยานนท์. (2559). สตาร์ทอัพกับ Disruptive Innovation. ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2560, จาก http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637676
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2559). การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4. ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 256
0, จาก https://thaipublica.org/2016/03/varakorn-153/
ศุภวุฒิ สายเชื้อ. (2559). เทคโนโลยีที่สร้างความพลิกผัน (Disruptive Technology). ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2560, จาก http://www.thaivi.org/เทคโนโลยีที่สร้างความพลิกผัน/
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ. (2559). การเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมอย่างพลิกผัน (Disruptive innovation). ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2560, จาก https://www.beartai.com/article/beartai-ict/111872
สมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า (ประเทศไทย). (2559). เทคโนโลยีที่สร้างความพลิกผัน (Disruptive Technology). ค้นเมื่อ 16 กันยายน 2560, จาก http://www.thaivi.org/เทคโนโลยีที่สร้างความพ/
สยามโฟน ดอท คอม. (2559). Alphabet เปิดตัว Waymo บริษัทผู้พัฒนารถยนต์ขับขี่อัตโนมัติไร้คนขับ (Google's self-driving car). ค้นเมื่อ 16 กันยายน 2560, จาก http://news.siamphone.com/ news-29218.html
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559). แนวคิดเกี่ยวกับประเทศไทย 4.0. ค้นเมื่อ 8 กันยายน 2560, จาก http://planning2.mju.ac.th/goverment/20111119104835_planning/Doc_25590823143652_358135.pdf
MM Thailand. (2560). FINTECH เทคโนโลยีใหม่ทางด้านการเงินที่ผู้บริหารต้องรู้. ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2560, จาก https://www.mmthailand.com/fintech-เทคโนโลยี-การเงิน/
NextEmpire Team. (2560). “EdTech” สอนพิเศษแบบเดิมได้หลักร้อย สอนแบบดิจิทัลได้หลักล้าน...แค่คลิ๊ก. ค้นเมื่อ 16 กันยายน 2560, จาก https://nextempire.co/stories/next-business/ edtech-ธุรกิจการศึกษาทำเงินมหาศาลที่คุณไม่รู้/451#j7n5nzic46
Bainbridge, David. (2016). Edtech is the next fintech. Retrieved August 30, 2017, from https://techcrunch.com/2016/08/13/edtech-is-the-next-fintech/
Bremner, Tom. (2017). The Edtech Revolution. Retrieved September 2, 2017, from http://blog.cushwake.com/emea/edtech-revolution-cre.html
Edtech Two. (2017). Is Edtech the next fintech?. Retrieved August 30, 2017, from http://www.edtechtwo.com/is-edtech-the-next-fintech/
Mayer, Matt. (2016). Fintech? Edtech? Adtech? Duriantech?-the 10 buzziest startup sectors. Retrieved August 30, 2017, from https://techsauce.co/en/startup-2/fintech-edtech-adtech-duriantech-the-10-buzziest-startup-sectors/
Pierce, Dennis. (2017). Top Edtech Trends to Watch This Year. Retrieved September 9, 2017, from https://www.powerschool.com/top-edtech-trends-watch-year/
Weiss, Dovi. (2017A). Why Edtech is the new FinTech-and how to capitalize on the trend. Retrieved August 30, 2017, from https://www.timetoknow.com/edtech-is-the-new-fintech/
Weiss, Dovi. (2017B). ED-Tech trends of 2017 in higher education (so far). Retrieved August 22, 2017, from https://www.timetoknow.com/ed-tech-trends-of-2017-in-higher-education-so-far/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.